Page 191 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 191
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ในต้นปี พ.ศ. 2543 เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์ มีโครงการพัฒนางานภัณฑารักษ์ งานวิชาการ งานคลังวัตถุ งานด้านต่างๆ
ึ
ิ
ตลอดจนกิจกรรมชมรมอนุรักษ์ศิลปกรรมและส่งแวดล้อมซ่งเป็นฝ่ายสนับสนุนงานพิพิธภัณฑ์ (เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี, 2556) ระหว่างเปิดบริการจะมีสมาชิกชมรมอนุรักษ์ศิลปกรรมและสิ่งแวดล้อมท�าหน้าที่เป็น
ี
เจ้าหน้าท่พิพิธภัณฑ์ ให้การบริการนาชม ให้ข้อมูล และดูแลรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ท้งน้จะมีอาจารย์
ั
�
ี
ก�ากับ ดูแล ช่วยเหลืออีกขั้นตอนหนึ่ง
ื
�
อย่างไรก็ตามจากการสารวจเบ้องต้นพบว่า ถึงแม้ว่าพิพิธภัณฑ์ได้ดาเนินการจัดให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ในการจัด
�
พิพิธภัณฑ์ในปี 2539 และหากยังคงพบปัญหาในด้านพื้นที่ที่จ�ากัดและค่อนข้างคับแคบ วัตถุที่ต้องการจัดแสดงมีจ�านวนมาก
�
้
�
ทาให้วางลาออกมายังบริเวณทางเดิน ส่งผลให้ทางเดินภายในพิพิธภัณฑ์แคบลงและเป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดความเสียหาย
ี
ุ
ั
่
ื
ี
่
ั
ุ
่
้
ั
้
็
ึ
ู
้
้
ตอผเขาชมและวตถทจดแสดงได จงเปนทมาของการศึกษาเพอเสนอแนะแนวทางในการปรบปรงสภาพแวดลอมภายในอาคาร
่
เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่มีความน่าสนใจและปลอดภัยต่อไป
2. วัตถุประสงค์การวิจัย
2.1 เพื่อสังเกตพฤติกรรมและส�ารวจร่องรอยทางกายภาพภายในเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์
2.2 เพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เข้าชมเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์
2.3 เพื่อวิเคราะห์ข้อดี ปัญหา และเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์
3. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.1 หลักการในการจัดนิทรรศการ
การจัดนิทรรศการ คือ การเผยแพร่ความรู้ด้านต่างๆ อันเป็นภารกิจของพิพิธภัณฑ์ให้แก่ประชาชน โดยถ่ายทอด
ื
ั
ื
ุ
ุ์
ผ่านวัตถุจัดแสดงและส่อประกอบอ่นๆ ไม่ว่าจะเป็นโบราณวัตถ ศิลปวัตถุ วัตถุด้านชาตพันธ มีวตถุประสงค์ ในการจัดนิทรรศการ
ิ
คือ ให้ความรู้แก่ผู้ชม สร้างความประทับใจ สร้างความเพลิดเพลิน ซ่งหลักสาคัญท่เป็น Basic Principles ก็คือ ให้ความสาคัญ
ึ
�
ี
�
�
ี
ื
แก่วัตถุ ให้ความสัมพันธ์ของเร่องราว คาบรรยายท่เหมาะสมพอดี องค์ประกอบไม่ว่าแสง สี และ Graphic Art ใดๆ ให้เหมาะ
พอควร ไม่มากน้อยและต้องให้ความปลอดภัยแก่วัตถุ (จิรา จงกล, 2532) จากการสังเกตพบว่า เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์
ี
ี
มีปัญหาเก่ยวกับความปลอดภัยของวัตถุ วัตถุท่จัดแสดงบางส่วนไม่มีการป้องกันความเสียหาย ทาให้เคยเกิดอุบัติเหตุชน
�
วัตถุจัดแสดงจนเกิดความเสียหาย
วิจัยของธนวรรณ พยัคฆ์ทัศน์ และเบญจมาศ กุฏอินทร์ (2560) เกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี ผลจากการวิจัยพบว่า
ี
ิ
ื
ควรมีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมโดยรอบให้สอดคล้องกับเร่องราวท่จัดแสดงควรเพ่มแสงสว่างเฉพาะจุดให้เพียงพอ ควรจัดแสดง
ี
วัตถุไว้บริเวณส่วนกลางห้องจัดแสดง ควรแบ่งวัตถุท่จัดแสดงให้เป็นหมวดหมู่ ป้ายบรรยายวัตถุควรติดต้งไว้ภายนอกตู้จัดแสดง
ั
ื
เพ่มป้ายบอกทิศทางในทุกจุดทางแยกและทางเช่อมไปยังจุดแสดงอ่นๆ วัตถุควรจัดแสดงไว้ภายในตู้กระจกเพ่อความปลอดภัย
ื
ิ
ื
และป้องกันผู้เข้าชมสัมผัสวัตถุ (ธนวรรณ พยัคฆ์ทัศน์ และ เบญจมาศ กุฏอินทร์, 2560)
วิจัยของนพศักด์ ฤทธ์ดี (2553) เก่ยวกับแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ท้องถ่น
ิ
ิ
ี
ิ
ื
กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพ่อประเมินการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ท้องถ่น กรุงเทพมหานคร
ิ
ื
ี
ผลจากการวิจัยพบว่า ภายในพิพิธภัณฑ์ท้องถ่น กรุงเทพมหานคร ควรมีป้ายบอกทิศทางโดยรวมและป้ายในพ้นท่เพ่อ
ิ
ื
ี
ื
ประชาสัมพันธ์ ควรมีพ้นท่ส่วนจัดแสดงหมุนเวียนหรือจัดกิจกรรมเพ่อสร้างความเคล่อนไหว ส่วนจัดแสดงภายในควรเป็น
ื
ื
ี
ี
ข้อมูลเชิงลึกท่เก่ยวกับประวัติของท้องถ่นน้นจริงๆ ควรมีวัตถุจัดแสดงท่บ่งบอกถึงตัวตนมากกว่าบอร์ดบรรยายด้วยตัวอักษร
ั
ิ
ี
ส่วนจัดแสดงควรมีระบบแสง สี เสียงท่เพียงพอ มีระบบการตอบโต้กับผู้เข้าชมเพ่อสร้างความรู้สึกร่วม และควรมีการจัดกิจกรรม
ื
ี
ระหว่างพิพิธภัณฑ์กับชุมชน เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน (นพศักดิ์ ฤทธิ์ดี, 2553)
Vol. 9 184