Page 198 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 198

�
                                                                   ิ
                                                          ี
                         2. การจัดแสดงไม่ได้มีการป้องกันอุบัติเหตุท่อาจทาให้ช้นงานเสียหาย จากการสนทนากลุ่มพบว่าเคยมีอุบัติเหต ุ
                ี
                                                            ื
                          ี
              เก่ยวกับการเฉ่ยวชนช้นงานจนเกิดความเสียหายด้วย  เน่องจากจุดจัดแสดงบางจุดไม่ได้มีการป้องกัน  แต่จากการตอบ
                                ิ
              แบบสอบถามพบว่านักเรียนผู้เข้าชมเกือบครึ่งหนึ่ง  (47%)  รู้สึกว่าปลอดภัยมากที่สุด  (M  =  4.28,  SD  =  .779)  (รูปที่  7)
                                                                                                    ิ
                                                                                                           ิ
              ภัณฑารักษ์ผู้เข้าการสนทนากลุ่มยังได้ให้ข้อเสนอแนะว่าควรมีการจัดการป้องกันความเสียหาย  ควรหาตู้มาใส่ช้นงานเพ่ม
              หรือท�าตัวครอบชิ้นงานเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (รูปที่ 8)


















                        รูปที่ 7 ระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเข้าชมภายในเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์
                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2560)























                             รูปที่ 8 ส่วนจัดแสดงทวารวดีและก่อนประวัติศาสตร์ไม่มีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2560)



              6. การอภิปรายผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

                      จากการสังเกตสภาพแวดล้อมทางกายภาพและพฤติกรรมของผู้เข้าใช้ สัมภาษณ์ สอบถาม และสนทนากลุ่ม พบว่า
                                  ี
              ข้อดีของพิพิธภัณฑ์แห่งน้คือสภาพแวดล้อมท้งภายนอกและภายในพิพิธภัณฑ์  ลักษณะทางเดินภายในพิพิธภัณฑ์สามารถ
                                                 ั
              เดินชมได้ง่ายและท่วทุกจุด  ตาแหน่งการจัดวางวัตถุ  บรรยากาศ  อุณหภูมิ  ผู้เข้าชมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจมาก
                                      �
                              ั
              สอดคล้องกับ  จิรา  จงกล  (2532)  อธิบายว่า  การจัดแสดงต้องถือหลักจัดอย่างง่ายๆ  คือ  ไม่จัดแสดงให้ดูซับซ้อนพิสดาร
              สับสน  แต่จะต้องวางแผนออกแบบให้เหมาะสมไม่มากไม่น้อย  หากจัดให้เกะกะรกไม่เป็นระเบียบหรือดูซับซ้อนจะท�าให้ขาด
              ความส�าคัญ คนดูเบื่อหน่าย ขาดความสนใจและไม่เกิดความประทับใจ (จิรา จงกล, 2532)


                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            191   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203