Page 199 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 199

th
              Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018







                    จากการสังเกตสภาพแวดล้อมทางกายภาพและพฤตกรรมของผู้เข้าใช้  สัมภาษณ์  สอบถาม  และสนทนากลุ่ม
                                                             ิ
                        �
                                                                                                       ี
                                           ี
             พบว่าปัญหาสาคัญของพิพิธภัณฑ์แห่งน้ คือ ทางเดินภายในพิพิธภัณฑ์ ระยะทางเดินโดยประมาณ 70-80 เซนติเมตร ท่เป็น
                                                                                                          ้
                                                                                                          �
                                                                                            �
                                                                    ี
             ผลสืบเน่องมาจากพ้นท่ภายในพิพิธภัณฑ์มีความคับแคบและจานวนวัตถุท่ต้องการจัดแสดงมีจานวนมาก ทาให้ต้องมีการรุกลา
                              ี
                            ื
                   ื
                                                           �
                                                                                   �
             เข้ามาในส่วนของพื้นที่ทางเดิน  ซึ่งท�าให้ความกว้างของทางเดินไม่ตรงตามมาตรฐานการออกแบบ  ในการออกแบบทางเดิน
             ที่เหมาะสมมีระยะดังนี้ ทางเดิน 1 เลน ควรมีระยะทางเดินโดยประมาณ 75-90 เซนติเมตร และทางเดิน 2 เลน ควรมีระยะ
             ทางเดินโดยประมาณ 1.70 เมตร (Panero & Zelnik, 1979)
                            ั
                                                                      ู
                                                             ิ
                    จากการสงเกตสภาพแวดล้อมทางกายภาพและพฤตกรรมของผ้เข้าใช้  สมภาษณ์  และสนทนากล่ม  พบปัญหา
                                                                                                ุ
                                                                             ั
             ด้านความปลอดภัยในการจัดแสดง  จากผลการวิจัยช้ให้เห็นว่าจากการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าชมเกือบคร่งหน่งรู้สึกว่า
                                                                                                 ึ
                                                                                                    ึ
                                                      ี
                         ี
                                                                                             ี
                                                                 ี
                                                                                                      ี
             ปลอดภัยมากท่สุดซ่งไม่สอดคล้องกับการสนทนากลุ่มกับภัณฑารักษ์ท่ได้ให้ความคิดเห็นว่าเคยมีอุบัติเหตุเก่ยวกับการเฉ่ยวชน
                            ึ
             ช้นงาน  จนเกิดความเสียหาย  และไม่สอดคล้องกับหลักการประเมินอาคารหลังการใช้งานในด้านประโยชน์ใช้สอยเก่ยวกับ
                                                                                                      ี
              ิ
             การประเมินศักยภาพของพื้นที่ใช้งานในเรื่องความสอดคล้องของสภาพแวดล้อมกับความต้องการทางกายภาพของผู้ใช้ ซึ่งมี
                                      ิ
                                                                         ิ
                                   ิ
                                                                    ้
                                                        ู
                                                                                        ื
                                                                                        ่
                                                                                     ั
                                                                                  ่
                                                                               ่
                                                                                  ี
                                               �
                                                                                                  ึ
                ่
             ผลตอความสามารถและประสทธภาพในการทางานของผ้ใช้อาคาร และดานพฤตกรรมซึงเกยวกบเรองของความพงพอใจและ
             ความเป็นอยู่ของผู้ใช้อาคาร (Horgen and Sheridan, 1996)
                    ข้อเสนอแนะในการปรบปรุงช่วคราว คือ ควรมีการจัดหาตู้มาใส่วัตถุจัดแสดงเพ่มเตมและทากล่องครอบวัตถุ เพ่อป้องกัน
                                                                             ิ
                                                                                ิ
                                                                                                    ื
                                    ั
                                         ั
                                                                                     �
             การเกิดอุบัติเหตุหรือความเสียหายในอนาคต และส่วนจัดแสดงภายในเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์มีชิ้นงานที่ต้องการจัดแสดง
                   �
             อีกเป็นจานวนมากจึงควรมีการจัดนิทรรศการหมุนเวียน เพ่อเป็นการลดจานวนช้นงานท่จะต้องนาออกมาจัดแสดง ในแต่ละคร้ง
                                                                              ี
                                                                         ิ
                                                                                                          ั
                                                                   �
                                                                                    �
                                                         ื
             สามารถแสดงชิ้นงานได้ครบทุกชิ้นเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนเข้ามาเรียนรู้
                    ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงถาวร คือ ขยายพ้นท่ของเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์ นอกจากน้ในส่วนของความปลอดภัย
                                                                                       ี
                                                        ี
                                                      ื
             ของชิ้นงานที่ปัจจุบันไม่ได้มีการป้องกัน จะต้องมีการจัดเก็บให้เรียบร้อยและปลอดภัย ในส่วนของการจัดแสดงควรจัด ให้ดูมี
             ความสากลมากขึ้น สร้างบรรยากาศให้เข้ากับวัตถุที่จัดแสดง ท�าให้ไม่เกิดความซ�้าซาก ความจ�าเจ ท�าให้พิพิธภัณฑ์ดูมีชีวิต
                                   �
                            ี
                    การวิจัยน้ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์เท่านั้น การวิจัยในอนาคต
             จึงควรศึกษาลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพจากกรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ในสถานศึกษาอ่นๆ ประกอบ เพ่อให้ได้ผลการวิจัย
                                                                                             ื
                                                                                 ื
             ที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น และการวิจัยนี้ได้ท�าการศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรภายในโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรีเท่านั้น
             ผู้ที่จะน�าไปวิจัยต่อจึงควรที่จะศึกษาความคิดเห็นของบุคคลภายนอกด้วย
             เอกสารอ้างอิง
             จิรา จงกล. (2532). พิพิธภัณฑสถานวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊พ จ�ากัด
                                                                              ิ
                                                         ี
                                                            ู
              ุ
                                                                                                  ิ
                                                                                                 ี
                           ิ
                          ิ
                                                                 ิ
                                                                   ั
                                                                          ่
                                                                          ื
                                                                ิ
                                                                                           ู
             จฑามาศ  แก้วพจตร.  (2559).  การศึกษากระบวนการเรยนร้ในพพธภณฑ์  เพอเสรมสร้างการเรียนร้ตลอดชวต.  Human
                    Resources and Organization Development Journal, 8(1), 32-59.
                           ั
                             ์
                         ์
             ธนวรรณ พยคฆทศน และเบญจมาศ กฏอนทร. (2560). แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพส่วนจัดแสดง
                       ั
                                                ์
                                             ิ
                                          ุ
                    วัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกคร้งท่  2  จังหวัดกาญจนบุรี.  ผลงานวิจัยในโครงการประชุม
                                                                ี
                                                              ั
                    วิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., เมษายน 2560 ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
                    เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
             นพศักดิ์ ฤทธิ์ดี. (2553). แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร.
                    วิทยานิพนธ์  สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์,  สถาบัน
                    เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
             Vol. 9                                       192
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204