Page 201 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 201

th
              Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018







                      การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของเสียง กรณีศึกษา: อาคารหอประชุมอ�าเภอเมือง
                                                    จังหวัดอุดรธานี
                          The Improvement of Sound Environment Case Study: Auditorium

                                                 District of Udonthani



                                           ธีรวุฒิ ทองดี  ชูพงษ์ ทองค�าสมุทร 2
                                                       1

             บทคัดย่อ

                    โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงคุณภาพของเสียงที่ใช้ในกิจกรรมการประชุม หรือบรรยาย ภายในอาคาร

             หอประชุมอาเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยจากการตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของอาคารหอประชุม
                      �
             จากนั้นท�าการวัดค่าต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์ในการวัดค่า พบว่าระดับเสียงรบกวนพื้นหลัง (Background Noise) และค่ารีเวอร์
             เบอร์เรชั่นไทม์ (RT60) นั้นมีค่าเกินกว่าค่ามาตรฐาน รวมทั้งพบการเกิดเสียงเอคโค่ (Echo) ในบริเวณแถวหน้าด้านข้างของ
             อาคารโดยหลังจากการออกแบบปรับปรุงส่งแวดล้อมทางเสียงภายในอาคารแล้วน้นสามารถสรุปรายละเอียดผลได้ดังน้ 1) การลด
                                                                                                   ี
                                                                        ั
                                            ิ
                                                                                                      ั
                            ี
                      ื
             ระดับเสียงพ้นหลังท่รบกวนภายในห้องลดลง 2 dBA คือ จาก 51.38 dBA เป็น 49.38 dBA 2) การแก้ไขค่ารีเวอร์เบอร์เรช่นไทม์
                                                     �
                                ั
                                                                                            ั
             โดยการการปรับปรุงติดต้งวัสดุซับเสียงแผ่นกลาสวูลสาเร็จรูปหุ้มด้วยผ้าใยแก้ว เป็นผลให้ค่ารีเวอร์เบอร์เรช่นไทม์ลดลงในกรณ ี
             เปิดม่าน และเปิดเครื่องปรับอากาศ (ไม่มีผู้ใช้งาน) ลดลงจาก 2.19 วินาทีเป็น 1.17 วินาที ในกรณีปิดม่านและเปิดเครื่อง
             ปรับอากาศ (ไม่มีผู้ใช้งาน) ลดลงจาก 1.92 วินาที เป็น 1.08 วินาที ในกรณีเปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (มีผู้ใช้งาน
             500  คน)  ลดลงจาก  1.55  วินาที  เป็น  1.01  วินาที  และในกรณีปิดม่าน  และเปิดเครื่องปรับอากาศ  (มีผู้ใช้งาน  500  คน)
             ลดลงจาก 1.43 วินาที เป็น 0.90 วินาที 3) การใช้วัสดุเพ่มเพ่อการสะท้อนของเสียงบริเวณด้านหน้าห้องเพ่อให้เกิดเสียงบรรยาย
                                                       ิ
                                                                                           ื
                                                          ื
             สามารถกระจายไปท่วถึงท้งห้อง โดยใช้การวิเคราะห์การสะท้อนของเสียงในพ้นท่ (Ray Analysis) โดยใช้งบประมาณการก่อสร้าง
                                 ั
                                                                      ื
                                                                        ี
                            ั
             ปรับปรุงทั้งสิ้น รวม 406,836.39 บาท
             ค�าส�าคัญ: คุณภาพของเสียงความสบายด้านเสียง การดูดซับเสียง
             Absract

                    The objective of this research is to improve the sound quality with enhances the hearing process of
             the audiences. The research methods of this research are; surveying physical appearance of this auditorium
             building, Background Noise level and the Reverberation Time were found to be higher than the standard and
             echo is found in the front row of the building. After the improvement of the sound environment in the building
             can  be  summarized  as  follows.  1)  Background  Noise  decreased  2  dBA  from  51.38  dBA  to  49.38  dBA.

             2) Correction of Reverberation Time by installing a precast composite sheet material. The Reverberation Time
             decreases when the curtain is opened and the air conditioner is turned on. (No user) decreased from 2.19
             second to 1.17 second. In the case closed curtain and turn on the air conditioner. (No user) decreased from
             1.92 second to 1.08 second. In the case of opening the curtain and opening the air conditioner (with 500 users)
             decreased from 1.55 second to 1.01 second. 500 people), down from 1.43 second to 0.90 second 3) The


             1   สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
             2   สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น



             Vol. 9                                       194
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206