Page 48 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 48

ั
                            ่
                                            
                                  
                              ่
                              ี
                            ี
                  4.  ทฤษฎีทเกยวของกบสถาปตยกรรมไทย
                         4.1  พนฐานเอกลักษณสถาปตยกรรมไทย
                              ้
                                               
                              ื
                                          
                                                                                                                
                             วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2558) กลาวถึงเอกลักษณสถาปตยกรรมไทย โดยมีสวนที่เกี่ยวของ 5 ประการ ไดแก
                  1) ลักษณะเชิงนามธรรม ประกอบดวย ความเบา ลอยตัว ความโปรง ความโลง ความโอบลอม ความรมรื่น ความเย็นสบาย ความ
                                            
                                                                   
                                                                                    
                  สวาง ความสลัว ความมืด ความสงบ และความสงัด 2) ลักษณะเชิงรูปธรรม ประกอบดวย รูปแบบที่อิงกับวิถีธรรมชาต: การอย ู 
                                                                                                         ิ
                                                        
                  รวมกับธรรมชาต ตนไม น้ำ รูปแบบการจัดภูมิทัศน: พื้นที่สีเขียว/พื้นที่วางกับอาคาร/ชุมชน ลักษณะที่แสดงถึงภูมิปญญาไทย
                                   
                               ิ
                  (โดยพิจารณาในความเหมาะสมตอการใชออกแบบบานในบริบทของสังคมและสภาพแวดลอมปจจุบันเสนอ 3 ประเด็นคือการ
                  สื่อสารดวยรูปแบบที่คุนเคย รูปแบบหลังคาจั่ว เทคโนโลยีในสังคมปจจุบัน ลักษณะเดน ๆ ของรูปแบบที่เกิดจากภูมิปญญาไทย)
                                                                                                      
                         ื
                                  ั
                              
                  ลักษณะพ้นถิ่นรวมสมย: อัตลักษณจากการสืบสานทางวัฒนธรรม 3) ลักษณะความงาม ประกอบดวย ปจจัยที่ทําใหเกิดความงาม
                  ลักษณะเดนของความงาม: ความออนชอย (Gracefulness) ลักษณะเดนของความงาม: ความละเอียดประณีต (Refinement)
                                                                  ่
                             ิ
                                                                  ื
                     ู
                                                                     ู
                                                 ู
                                                                                                               ่
                                                                                             ิ
                  4) รปลักษณเชงสัญลักษณ ประกอบดวย รปลักษณตามคติความเชอ รปลักษณเพอการสือความหมายเชงสัญลักษณ ไดแก การสือ
                                             
                                                                                                          
                                                                                                        
                                                                             ่
                                                                             ื
                                                                                  ่
                                                                                               ั
                           
                                                                       
                                                                                         ู
                                                                            ่
                  ความหมายดานเอกลักษณไทย: สถาปตยกรรมไทยประเพณี/ไทยประยุกต การสือความหมายดวยรปแบบสญลักษณเฉพาะ (icon):
                  เครื่องยอด/ ดอกบัว/นํ้า/จั่ว การสื่อความหมายเฉพาะ: ฐานานุลักษณ/พลัง/อํานาจ การสื่อความหมายดานความเปนชุมชนและ
                  คุณภาพชีวิต 5) ลักษณะไทย: ความเปนไทย/วิถีไทย ประกอบดวยจิตวิญญาณของความเปนไทย-ความตอเนื่องจากรากฐาน
                                                                 ิ
                                                       
                             
                                   
                  ประเพณี ไดแก ความเปนไทยแบบทางการ ความเปนไทยตามทีนยม
                                                                ่
                         4.2  การกอรปทางสถาปตยกรรม
                                           
                                   ู
                                                                                        
                                                                                                              ั
                                                                                      
                                          ู
                                                   
                                   ิ
                                                      ึ
                                   ์
                              ิ
                                                           
                             วมลสิทธ หรยางกร (2558) กลาวถงการกอรปทางสถาปตยกรรม 3 ประการ ไดแก 1) การวางผังในมิติความสัมพนธ 
                                                             ู
                  กับทิศทาง การจัดวางแนวแกน การกําหนดลําดับ และระดับ 2) การจัดกลุม ตามแบบแผนการจัดวางอาคารในลักษณะเรียง
                  เปนแนว การโอบลอมองคประกอบ และที่วาง 3) การสรางมวล ดวยลักษณะไตรภาค การเรียงตัวแนวตัง การแสดงฐานานุลักษณ
                                                                                             ้
                                                           
                         ํ
                  จกรวาลจาลอง และลักษณะอนสาวรีย  
                                         ุ
                   ั
                                                         
                         4.3  การจัดองคประกอบ รูปทรง และสัดสวน ทางสถาปตยกรรม
                             วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2558) 4 ประการ ไดแก 1) การจัดองคประกอบเพื่อการใชสอย 2) การจัดองคประกอบ:
                  รูปทรงและสัดสวน คุณลักษณะ 3) การจัดองคประกอบเพื่อการสื่อความหมายของสังคมไทยแบบพหุนิยม: แบบไทยผสมผสาน
                                    ่
                                          ่
                                          ื
                            
                                    ื
                                                ่
                        ั
                                                
                                                ี
                                             
                  4) การจดองคประกอบเพอการเชอมตอทวาง
                                           
                                                  ี
                              
                         4.4  สวนประกอบและสวนประณตสถาปตยกรรม
                                                           
                                                             
                                                                                                   ื
                              ิ
                                                                                                   ้
                                   ์
                                                                                                         ุ
                                                                                                         
                                   ิ
                                                                                                               
                                          ู
                             วมลสิทธ หรยางกร (2558) 3 ประการ ไดแก 1) ภาพรวมและโครงสราง 2) สวนประกอบหลัก/พนฐาน: ซมทางเขา
                                
                                                                ื
                                                                           ั
                   
                             ู
                                                                                         ั
                                                                ้
                  ชองแสง ประต หนาตาง ลาน/ระเบยง/ชาน นอกชาน การยกพน ฐานอาคาร บวฐานอาคาร เสา/บวหวเสา พะไลและแผงกนแดด
                                            ี
                                  
                                                                                            ั
                                                                                                           ั
                  คายน 3) สวนประดบ/สวนประณีตสถาปตยกรรม
                   ํ
                   ้
                                ั
                     ั
                                                            ่
                                                              ื
                         4.5  สถาปตยกรรมเขยวและการพฒนาอยางยงยน
                                                            ั
                                         ี
                                                         
                                 
                                                   ั
                             วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2558) 5 ประการ ไดแกสถาปตยกรรมเขียว สถาปตยกรรมอนุรักษพลังงาน สถาปตยกรรม
                    ุ
                                                                               
                                                                                   ื
                                                                         ั
                                                                                  ั
                                                                                  ่
                                                                    ่
                     ั
                                                            
                                               ุ
                                                      ิ
                                                     ี
                                    ่
                                             ่
                       
                  อนรกษระบบนิเวศและสิงแวดลอมเพอคณภาพชวต สถาปตยกรรมเพือการพฒนาอยางยงยน เกณฑประเมินอาคารเขียว
                                             ื
                                                                             
                                 
                                                 
                         4.6  สถาปตยกรรมไทยสมัยใหมภายใตโลกาภวตน และทองถนภิวตน
                                                            ั
                                                               
                                                                    
                                                                       ่
                                                                          ั
                                                      
                                                                       ิ
                                                           ิ
                                                                                                    ิ
                                                                                               ั
                                                                                                 
                                                                                                    ่
                                                                                                       ั
                                                                                                          
                                                                                              
                                                                                                      ิ
                                   ์
                                          ู
                                   ิ
                             วมลสิทธ หรยางกร (2558) 4 ประการ ไดแก สถาปตยกรรมในแนวบรณาการโลกาภิวฒนกบทองถนภวตน ในแนว
                              ิ
                                                                                           ั
                                                                               ู
                                                           
                                                             
                  คูขนานสมัยใหมกับประเพณี แนวรูปแบบไทยที่เปนการละเมิดหรือไมละเมิดฐานานุลักษณ สถาปตยกรรมไทยสมัยใหมเพื่อการ
                  พฒนาเศรษฐกจสรางสรรค  
                   ั
                            ิ









                                                                39
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53