Page 49 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 49
ิ
วิมลสทธ หรยางกูร
ิ
์
้
พืนฐานเอกลักษณสถาปตยกรรมไทย
ู
การกอรปทางสถาปตยกรรม
การจดองคประกอบ รปทรง และสัดสวน ทางสถาปตยกรรม
ั
ู
ี
สวนประกอบและสวนประณตสถาปตยกรรม
่
สถาปตยกรรมเขียวและการพัฒนาอยางยังยืน
สถาปตยกรรมไทยสมัยใหมภายใตโลกาภิวัตน และทองถินภิวัตน
่
ี
่
ั
ู
่
ู
ี
รปท 4.1 ขอมลเกยวกบสถาปตยกรรมไทย 1
ทมา: ผูวจย (2564)
ิ
่
ี
ั
4.7 ความสำคญของระเบยบวธในงานสถาปตยกรรมไทยประเพณ
ี
ั
ี
ิ
ี
วนิดา พึ่งสุนทร (2547) กลาวถึงลักษณะอาคาร องคประกอบอาคารประกอบไปดวยสามสวนสำคัญทั้งอาคารทาง
้
ราบและอาคารทางสูง คือ 1) สวนฐานอาคาร-สวนชันรบฐาน 2) สัดสวนชันตวอาคาร: ความสูงของผนังและของเสา รายละเอียด
ั
ั
้
ื
สวนผนัง-บัวผนังบน บัวผนังลาง รายละเอียดสวนเสา-หัวเสา สวนเสา โคนเสา องคประกอบอื่น ๆ ความสูงประตู หนาตาง หรอ
ั
้
ชองเปด ทำใหเสากับฐานอาคารขาดจากกัน-ความรูสึกลอย สัดสวนขององคประกอบตองสัมพันธกับสัดสวนโดยรวม 3) สวนชน
หลังคา: ขนาดหลังคาขึ้นกับสัดสวนโดยรวม ชั้นตัวอาคารและชั้นฐานอาคาร ดวยแนวของเสนจอมแห ซึ่งทั้งสามสวนตองมีขนาด
ั
ั
และสัดสวนสมพนธกน และคำนึงถงความสัมพนธตอสัดสวนของมนษยผูใชสอย
ึ
ุ
ั
ั
ั
ั
ี
ึ
4.8 พฒนาการสถาปตยกรรมประเพณตนรตนโกสินทรถงปจจุบน
ั
วนิดา พึ่งสุนทร (2547) กลาวถึงลักษณะสถาปตยกรรมไทยประเพณีที่ปรากฏ 7 ชวงระยะเวลา ตามรัชสมัยการ
ู
ปกครองและรปแบบสถาปตยกรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร
4.9 ประเภทของงานสถาปตยกรรมไทย
ื
่
ึ
ประกิจ ลัคนผจง (2556) กลาวถึงประเภทของสถาปตยกรรมไทยซึ่งวนิดา พงสุนทร อธิบายไว 4 แบบ คอ
สถาปตยกรรมทางศาสนาและความเชื่อ สถาปตยกรรมในพระมหากษัตริย สถาปตยกรรมประเภทบานเรือนที่พักอาศัยของ
ิ
ประชาชน และ สถาปตยกรรมประเภทอาคารพาณชยและอาคารสาธารณะ
สรปไดวา ความสำคัญของระเบียบวธในงานสถาปตยกรรมไทยประเพณีเปนสวนหนึงในการกอรปทางสถาปตยกรรม
ุ
ี
ิ
่
ู
การจัดองคประกอบ รูปทรงและสัดสวนทางสถาปตยกรรม และสวนประกอบและสวนประณีตสถาปตยกรรม ซึ่งมีการบอก
รายละเอยดเพมเตมองคประกอบเพมเติม ดงน ้ ี
ี
ิ
ิ
ั
่
ิ
่
40