Page 54 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 54
ั
ู
่
ู
รปท 4.6 ขอมลเกยวกบสถาปตยกรรมไทย 6
ี
ี
่
ี
่
ั
ทมา: ผูวจย (2564)
ิ
ั
ิ
4.19 การศึกษาประวตศาสตรสถาปตยกรรมผานมุมมองทางสังคมและการเมอง
ื
ชาตรี ประกิตนนทการ (2547) กลาวถึงประวตศาสตรสถาปตยกรรม เหตุผลการนำรูปแบบศิลปะสถาปตยกรรม
ั
ิ
มาใชมาวิเคราะหโดยอิงจากการเมืองและสังคม ตามชวงเวลาที่ศึกษาคือชวงรัตนโกสินทร ปพ.ศ. 2394-2500 โดยแบงชวงการ
เปลี่ยนแปลงเปน 5 ชวง คือ 1) ปลาย ร.3-ร.4: ความเสื่อมของความเชื่อไตรภูมิ งานสถาปตยกรรมไทย เพิ่ม ลด นำกลับมาใช
ั
2) ชวง ร.5: รบรูปแบบตะวนตกมาใชกบอาคารแบบสถาปตยกรรมไทยประเพณี 3) ร.6: ไทยประยุกต 4) ร.7 พ.ศ. 2475: รปแบบ
ั
ั
ู
ั
ความเปนไทยที่เปนสากล (สถาปตยกรรมแบบทันสมย) 5) พ.ศ. 2490-2500 รื้อฟนแบบจารีต+ไทยประยุกต และสถาปตยกรรม
ั
ั
ชวงหลังรฐประหาร ปพ.ศ. 2549 (สถาปตยกรรมไทยหลังรฐระหาร 14 กันยายน 2549, 2556)
่
ู
ิ
4.20 นยามความเปนไทยจากผลงานผเชียวชาญ
ึ
ชาตรี ประกตนนทการ (2556) กลาวถงการนำบรบทแวดลอมดานสังคม เศรษฐกจ และการเมองมารวมวเคราะห
ิ
ื
ิ
ิ
ิ
เพื่อทำความเขาใจสถานะและความหมายของศิลปะและสถาปตยกรรม โดยอธิบายวา การศึกษาศิลปะและสถาปตยกรรมไทยท ่ ี
ผานมาจะมุงพิจารณามิติดานสุนทรียศาสตรเปนสำคัญ อธิบายความงามภายใตกรอบคิดราชธานีนยมและชาตินิยม และ เชื่อวา
ิ
ิ
้
ความเปนไทยไมมีอยจริง เนื่องจากพิจารณาวัตถุสิงของและงานสถาปตยกรรมทีถูกสรางขึนบนฐานความคิดวา ความเปนไทยเกด
ู
่
่
จากคานิยมที่บมเพาะมา ดังนั้นตัวงานสถาปตยกรรมไทยเปนสวนปลูกฝงจิตสำนึกความเปนลักษณะไทยนั้นในสังคมดวย ซึ่งจาก
แนวคิดนี้ไดกลาวถงวิธีออกแบบความเปนไทยในสถาปตยกรรม (แบบผูเชี่ยวชาญ) ผูวิจัยเหนวา หมายถึงนิยามความเปนไทยจาก
ึ
็
ื
่
ั
ิ
ื
ั
้
่
ี
ผลงานผเชยวชาญ สถาปตยกรรมไทยสมัยใหม วาดวยหลัก 4 ขอ คอ 1) Less is a bore. นอยนนนาเบอ 2) การสรางทวอตลักษณ
ู
ิ
่
ี
่
(ไทย-สากล) 3) จวไทย สงทขาดไมได 4) โวหาร หบหอชนสดทายของความเปนไทยแบบผูเชยวชาญ
่
ั
ี
้
ุ
ั
่
ี
สรุปไดวา การศึกษาประวัติศาสตรสถาปตยกรรมผานมุมมองทางสังคมและการเมือง มีที่ตรงกันกับพัฒนาการ
สถาปตยกรรมประเพณีตนรัตนโกสินทรถึงปจจุบัน ประวัติศาตรสถาปตยกรรม และงานสถาปตยกรรมชวงป พ.ศ. 2475-2536
ดงน ้ ี
ั
45