Page 96 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 96
้
ั
่
จากปจจยตงตน จำนวน 9 ปจจัยทีไดจากการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณเชิงลึกผเชี่ยวชาญ (ตาราง
ู
ั
ั
ิ
้
ิ
ั
ู
ท 2) ถกนำมาสรางเปนแบบสอบถามอนเปนเครืองมอหลกของงานวจยน โดยมีรายละเอยดเชงแนวคดดังน ้ ี
่
่
ั
ิ
ี
ี
ื
ี
ี
่
ึ
่
่
ั
แบบสอบถามรอบที 1 ประกอบดวยคำถามสองสวน ดงน คำถามสวนทหนง เปนคำถามปลายปดใหผูเชยวชาญ
้
ี
่
ี
แสดงความเห็นดวยหรือไมเห็นดวยกับปจจัยตั้งตนแตละปจจัยเทานั้น โดยใชเกณฑพิจารณาแตละปจจัยที่ผูเชี่ยวชาญใหความ
ิ
่
็
ิ
ี
่
้
ั
ึ
ั
่
ึ
ี
่
ี
็
ั
เหนชอบเกนกงหนงของผูเชยวชาญทงหมด และคำถามสวนทสองเปนคำถามปลายเปดทใหแสดงความคิดเหนเชงปรบแกชอปจจย
่
ื
่
ั
้
ั
ิ
ั
ิ
่
ั
ิ
ั
้
และนิยามเชงปฏบติการของแตละปจจย รวมทงสามารถเสนอปจจยเพมเติมจากปจจยตังตนดวย
้
แบบสอบถามรอบที 2 ประกอบดวยคำถามสองสวน ดงน คำถามสวนทีหนง เปนคำถามปลายปดเพอทวนสอบ
่
ั
ึ
ี
่
่
ื
่
ความเห็นดวยหรือไมเห็นดวยกับแตละปจจัยเทานั้น โดยนำรายการปจจัยตั้งตนที่ผานเกณฑการพิจารณาจากคำตอบในรอบแรก
รวมเขากับรายการปจจัยที่ไดรับการเสนอเพิ่มเติมจากการแบบสอบถามรอบแรก และคำถามสวนที่สองเปนคำถามปลายเปดท่ให
ี
่
ั
ื
ั
ั
ิ
ั
้
็
ิ
ั
แสดงความคิดเหนเชงปรบแกชอปจจยและนิยามเชิงปฏบติการของแตละปจจยเทานน
ั
แบบสอบถามรอบที 3 เปนคำถามใหผเชยวชาญไดแสดงความคิดเหนกบแตละปจจยทผานเกณฑการพจารณา
ั
่
ู
่
ิ
็
่
ี
ี
ที่ผูเชี่ยวชาญใหความเห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของผูเชี่ยวชาญทั้งหมดจากการตอบแบบสอบถามรอบที่สอง ดวยมาตรวัดแบบลิเคิรท
่
ั
่
(Likert Scale) 5 ระดับ คำตอบของผูเชียวชาญจากการตอบแบบสอบถามรอบทีสามนี้ จะถูกนำไปคำนวณคามธยฐาน (Median:
ี
Med) และคาพิสัยระหวางควอไทล (Interquartile Range: IQR) เพื่อวิเคราะหความสอดคลองของแตละปจจัย ในกรณีท่มปจจย
ั
ี
ั
ึ
่
่
ี
ใดปจจยหนงทไมผานเกณฑความสอดคลอง จะทำการสอบถามผูเชยวชาญดวยแบบสอบถามรอบท 4 ในลักษณะเดยวกน แตแยก
ี
่
ั
ี
ี
่
เปนแบบสอบถามของแตละผูเชยวชาญเฉพาะทานไป โดยแสดงคามธยฐาน (Med) และคาพสยระหวางควอไทล (IQR) ของทังกลุม
้
ิ
ั
่
ี
ั
่
ผูเชี่ยวชาญ และคาคะแนนที่ผูเชี่ยวชาญทานนั้นเลือกตอบในแบบสอบถามครั้งที่สามกำกับในแตละปจจัย เพื่อใหผูเชยวชาญได
ี
ื
่
่
ี
ี
้
ั
ทบทวนความคดเหนของตนเองกบความคดเหนของผูเชยวชาญทงกลม เพอเลือกตอบในแบบสอบถามครงท 4 นไปดวย
ั
็
้
ุ
ี
่
ิ
้
็
ิ
ั
3.2.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรของการวิจัยนี้ คือ ผูเชี่ยวชาญที่อยูในสายงานเกี่ยวกับการบริหาร
จัดการขยะทั้งทางภาควิชาการและภาคปฏิบต เนื่องจากประเดนขอจำกัดทางดานเวลา จำนวนผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณ และ
็
ิ
ั
ิ
ี
้
ี
ั
่
ี
ความสมครใจการมีสวนรวม กับงานวจัยนีของผูเชยวชาญแตละทาน งานวจยน้กำหนดตวอยางท่จำนวน 9 ทาน (ตารางที่ 3) ซง ึ ่
ิ
ั
ั
่
่
่
่
เปนจำนวนผูเชียวชาญที ยังสงผลตออัตราความคลาดเคลือนที่ลดลงไมมากอยางมีนัยสำคัญไปกวาการมีจำนวนผูเชียวชาญตั้งแต
ี
10 คนขึ้นไป (Creswell, 2007 อางใน น้ำผึ้ง มีศิล, 2559) โดยใชวิธการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) รวมกบ
ั
การสุมตัวอยางแบบลูกโซ (Snowball Sampling) โดยใหผูเชี่ยวชาญแนะนำผูเชี่ยวชาญทานอื่นตออีกทอดหนึ่ง จนไดจำนวน
ผูเชยวชาญผูใหขอมลตามทีกำหนดไว
ู
่
่
ี
ตารางที 3 การจำแนกตามกลมผูเชยวชาญของงานวจย
ิ
ี
่
่
ุ
ั
่
ู
กลมที ่ ผเชียวชาญตามกลุมความชำนาญ จำนวน (คน)
ุ
1 กลุมเจาหนาที่ราชการสวนกลางที่มีหนาที่กำหนดนโยบายหรือกำกับดูแลงานเกี่ยวกับการจัดการเมือง การ 4
ี
่
ั
ั
่
ี
่
ี
่
ั
ิ
จดการขยะและสิงแวดลอม ในระดบทมความเชียวชาญและมีความรบผดชอบรวมถึงประสบการณเปนทยอมรับ
ั
2 กลมนกวิชาการททำงานและมีผลงานทางวิชาการ เปนทปรกษา เปนผเชยวชาญ อาจารยระดบอุดมศกษาทสอน 2
ุ
ั
ี
่
ึ
่
ี
ี
ู
ึ
่
ี
่
่
ื
ั
ี
่
ื
่
ในเนือหาทเกียวของกับเรองการผังเมอง การจดการขยะและสิงแวดลอม
้
่
่
ี
่
ี
ุ
3 กลมเจาหนาทราชการทองถนทมความเชยวชาญ รวมถึงมประสบการณเปนทยอมรบ เชน ฝายการเมืองทดแล 2
ี
่
ู
่
ี
ิ
ี
ี
่
ี
ั
่
ิ
่
การจัดการดานสิงแวดลอม ขาราชการผูมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงดานสิ่งแวดลอมและการบรหารจดการขยะ
ั
เชงประจกษ
ิ
ั
ี
่
่
่
4 กลมผเชยวชาญภาคเอกชนทีมประสบการณในการดำเนินการเกียวกับการบริหารจัดการขยะ และสิงแวดลอม 1
ู
ุ
ี
่
รวม 9
ทมา: ผูวจย (2564)
่
ี
ั
ิ
87