Page 93 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 93
วรรณกรรมในหัวขอนี้มีเปาหมายหลัก คือ เพื่อคัดเลือกปจจัยเบื้องตนที่เกี่ยวของกับการกำหนดพื้นที่จัดการขยะชุมชนเพื่อผลิต
ื
้
่
ิ
ื
เชอเพลิงขยะ จนสามาถนำไปสรางเครืองมอแบบสอบถามของการวจยตอไป
ั
3.1.1 ความหมายและประเภทของเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) เชื้อเพลิงขยะ (RDF) คือการนำ
ขยะมูลฝอยชมชนมาผานกระบวนการจัดการทางกายภาพ เชน การคัดแยกขยะ การลดความชื้น เปนตน และแปลงสภาพขยะมูล
ุ
่
็
้
ื
ื
ี
้
ี
ี
้
ุ
ฝอยใหเปนเชอเพลิงแขงทมคณสมบัติในดานคาความรอน ความชน ขนาด และความหนาแนน จนมความเหมาะสมทังทางกายภาพ
ื
และองคประกอบทางเคมีในการใชเปนเชื้อเพลิงปอนแขาสู หมอไอน้ำเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาหรอพลังงานความรอน โดยสามารถ
ื
ี
่
ู
้
จำแนกเชอเพลงขยะไดเปน 7 ประเภท ประกอบดวย RDF-1 คอ ขยะทอยในรปของขยะทีไดรบมาโดยตรงจากผูททงคดแยกสวนท ่ ี
้
ิ
ั
ี
ื
ิ
่
ู
่
ั
เผาไหมไดออกมาดวยมือ รวมทั้งขยะที่มีขนาดใหญ RDF-2 คือ ขยะที่ผานการคัดแยกเอาโลหะหรือเหล็กออกไปและบดหรือตด
ั
่
ั
เพอใหขนาดของขยะมลฝอยลดลงอยางหยาบ ๆ RDF-3 คอ ขยะทผานกระบวนการบดจนเหลือเพยงวสดุทเผาไหมไดเทานนจนได
ื
่
่
ี
ี
ั
้
ู
ี
ื
ขยะที่ 95% โดยน้ำหนักของขยะที่เขากระบวนการคัดแยกแลวมีขนาดเล็กกวา 2 นิ้ว RDF-4 คือ ขยะมูลฝอยสวนที่เผาไหมได
เทานั้นจนไดขยะที่ 95% โดยน้ำหนักของขยะผานกระบวนการทำใหอยในรูปของผงฝุน RDF-5 คือ ขยะที่ผานกระบวนการบดจน
ู
เหลือเพียงวัสดุที่เผาไหม ที่นำมาอัดใหอยูในรูปแบบอัดแทงหรืออัดเปนกอนเทานั้น RDF-6 คือ ขยะจำพวกวัสดุที่เผาไหมไดใน
ี
ลักษณะของเชื้อเพลิงเหลวเทานั้น และ RDF-7 คือ ขยะจำพวกวัสดุเผาไหมไดในลักษณะของเชื้อเพลิงประเภทแกสเทานั้น ท่พบ
มากในประเทศไทยคือ RDF-1 ในขณะที่คุณภาพเชื้อเพลิงขยะที่ตลาดมีความตองการรับซื้อ คือ เชื้อเพลิงขยะที่มีคุณภาพตั้งแต
ประเภท RDF-5 เปนตนไป
โดยการผลิตเชื้อเพลิงขยะมีขอดีจำนวนมาก อาทิ การผลิตเชื้อเพลิงขยะเปนเทคโนโลยีสะอาด การจัดเกบ
็
การขนสง การจัดการตาง ๆ สามารถทำไดสะดวก ปลอดภัย และมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมต่ำ สามารถผลิตเปนแทงเชื้อเพลิง
สำหรับผลิตพลังงานความรอนและพลังงานไฟฟา และสามารถใชแทนถานหินทีมีพลังงานความรอนตำแตใชพื้นที่นอยกวามากใช
่
่
ึ
้
ั
่
่
ี
ื
ี
ื
่
ี
่
่
ื
เทคโนโลยทใชพนทนอย สามารถติดตังไดในพนททขนาดเล็กเมอเทยบกบการจัดการขยะระบบอืน จงสามารถสรางกระจายตามจด
่
ี
ี
้
้
ุ
ี
ั
่
ี
ตาง ๆ หรือตามทแหลงกำเนิดขยะได เชอเพลิงขยะทีไดไมจำเปนตองผลิตเปนพลังงานทนท สามารถผลิตและจัดเกบกกตนไวผลิต
ุ
ี
้
ื
็
่
ั
้
พลังงานภายหลังได เปนตน อยางไรก็ดีการผลิตเชอเพลิงขยะยงมีขอเสีย อาทิ ตองอาศัยการขนสง ซึ่งนับเปนการเสียตนทุนทาง
ื
ั
โลจิสติกส ตองอาศัยระบบตอเนื่องอื่นเพื่อรองรับการเปลี่ยนเชื้อเพลิงขยะเปนพลังงาน เปนตน (สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน
ิ
นครพงค, 2563)
3.1.2 เกณฑปจจัยรูปแบบ ขอพิจารณดานเทคโนโลยีสำหรับดำเนินการจัดการขยะที่เหมาะสมสำหรับปรับใชใน
ั
ั
่
ี
่
ี
ิ
ั
องคกรปกครองสวนทองถน ในประเทศไทยมหนวยงานทรบผิดชอบดานการจดการขยะอยูหลายหนวยงานดวยกน เชน กรมโยธาธ ิ
การและผังเมือง กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น และกรมควบคุมมลพิษ เปนตน โดยกรมควบคุมมลพษเปนหนวยงานใน
ิ
่
สังกัดของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอม มีหนาที่หลักในการดแล จัดการ ควบคุม และรักษาสิ่งแวดลอมไมใหเกด
ู
ิ
ิ
่
ื
่
ู
ั
ั
มลพษ ซงไดจดทำและเผยแพรแนวทางการพิจารณาคดเลือกรปแบบเทคโนโลยีการจดการขยะ เพอใหองคกรปกครองสวนทองถน
ิ
ั
ึ
่
นำไปใชประกอบการตัดสินใจเพื่อเลือกระบบการจัดการขยะที่เหมาะสมกับทองถิ่นในทางปฏิบัติ โดยตารางที่ 1แสดงถง
ึ
ขอพิจารณาในการเลือกความเหมาะสมของรูปแบบเทคโนโลยีการจัดการขยะสำหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีปริมาณขยะ
ั
ชุมชน 50-100 ตันตอวัน โดยกองจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ (2559) ซึ่งมีขอบเขตครอบคลุมปจจย
ิ
ี
่
ุ
ิ
ิ
เชงขนาดพนท ระยะทาง เงนลงทน คาบรหารจัดการระบบ จำนวนเจาหนาท และความตองการเบืองตนของระบบการจัดการเสรม
้
ื
ี
่
้
ิ
84