Page 92 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 92
and median (Med) statistics to quantify the degree of consensus among Delphi panelists toward each factor,
the results revealed ten influential factors classified into three groups. The first group contained three factors
with highest degree of consensus (IQR=0, Med=5) including 1) amount of municipal solid waste; 2) proximity to
sensitive areas; and 3) amount of residual solid waste. The second group with high level of consensus (IQR=0,
Med=4) consisted of: 1) distance between municipal solid waste management area and RDF buyer location;
2) area size where municipal solid waste is collected; 3) former and present use of land in relation with solid
waste management; and 4) lot size of municipal solid waste management area. The last group with moderate
consensus level comprised three factors: 1) legal compatibility of municipal solid waste management location;
2) distance between community and municipal solid waste management area; and 3) physical characteristics
of municipal solid waste management area.
Keywords: Solid Waste Management Area, Municipal Solid Waste, Refuse Derived Fuel (RDF), Delphi Technique
1. บทนำ
้
ึ
การจัดการขยะเปนขอทาทายที่ทุกเมืองตองเผชิญ อันเปนปญหาที่มีความสำคัญตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขน
่
ั
ั
ี
โดยเฉพาะในพื้นท่เมองท่รองรับการกระจุกตวของกิจกรรมประเภทตาง ๆ การจัดการทีสามารถนำขยะกลับมาเปนทรพยากรใชได
ี
ื
ใหมเปนแนวทางที่ยิ่งไดรับความสนใจมากขึ้นในปจจุบันเนื่องจากความสามารถในการตอบโจทยการนำสิ่งเหลือใชกลับมาสราง
่
ู
พลังงานได จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ พบวา การศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดการขยะรวมศนยทีการจัดการขยะดวย
่
ื
ี
ู
่
ิ
ั
ั
ิ
ี
่
ิ
ระบบฝงกลบอยางถกหลักวชาการ (โรธนา ลดาชาติ, 2545; นต เอยมชน, 2559; นยนา เดชา, 2557) โดยนำปจจย ตงตนทภาครฐ
ั
้
ั
ที่เกี่ยวของโดยตรงและโดยออมไดกำหนดไว อาทิ กรมควบคุมมลพิษ กรมโยธิการและผังเมือง เปนตน และนำปจจัยเหลานนมา
้
ั
วิเคราะหดวยเทคนิคทับซอนขอมูลเชิงพื้นที่ดวยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS)
(สรศกด บญลือ, 2541; ศมลวรรณ วรกาญจน, 2554; พรยตม วรรณพฤกษ, 2555) หรือ นำวธีการกำหนดคานำหนกกระบวนการ
ิ
ี
ุ
ิ
ิ
์
ุ
ั
ั
้
ุ
วิเคราะหเชิงลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process: AHP) มาประยุกตใช (ดวงดาว โหมดวัฒนะ, 2560; นภนต สุรงครัตน,
ื
ื
้
ิ
ุ
่
ื
ั
ู
่
่
ื
ี
่
ิ
ู
2556; นพนธ บญเพมพน,2551) เพอเลอกพนทเหมาะสมและมีศกยภาพเพอเปนแหลงกำจัดขยะมลฝอย (กมลพร เกดพต, 2542;
ุ
ิ
ฐิตินันท สุขถาวร, 2540; สุภาวดี นอยน้ำใส, 2559) ในขณะที่ระบบการจัดการขยะเพื่อผลิตเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel:
RDF) ยังไมไดมีการศึกษาในรายละเอียดมากนัก โดยเฉพาะประเด็นการตัดสินใจเลือกพื้นที่ดำเนินการ หรือประเด็นปจจัยที่ใช
่
่
้
ี
พิจารณาในการคัดเลือกพ้นทีจดการขยะทีมความเหมาะสม และอื่น ๆ ทั้งนี้ เนื่องจากระบบการจัดการขยะเพือผลิตเชือเพลิงขยะ
ั
่
ื
ั
ั
่
(RDF) เปนระบบทีไดรบการยอมรับในแงหลักการ ประโยชน และความเปนไปไดเชิงปฏบต ตลอดจนไดรบการผลักดันจากภาครัฐ
ิ
ั
ิ
ดังนั้น ดวยคุณลักษณะเฉพาะตัวที่มความแตกตางจากระบบการจัดการขยะประเภทอ่น งานวิจัยนี้จึงมุงศึกษาเพื่อระบุหาปจจยท ี ่
ี
ื
ั
ุ
ิ
ื
้
ิ
ื
่
่
ี
ั
่
ื
้
ควรนำมาพจารณาเพือใชในการตัดสินใจเลือกพนทจดการขยะชมชนเพอผลิตเชอเพลงขยะ (RDF)
ั
ิ
ั
ุ
2. วตถประสงคของการวจย
วัตถุประสงคของงานวิจัยนี้เพื่อระบุปจจัยในการกำหนดพื้นที่การจัดการขยะชุมชนเพื่อผลิตเชื้อเพลิงขยะ (RDF)
้
ื
่
ี
ื
้
ี
ั
โดยกำหนดขอบเขตเชงพนทดวยบรบทของประเทศไทย อนเปนการสรางเกณฑเบองตนกอนการตัดสินใจในระดับรายละเอยดของ
ิ
ิ
ื
แตละพนทตอไป
ี
่
้
ี
ิ
ี
ิ
ั
3. ระเบยบวธวจย
3.1 ทบทวนวรรณกรรม
้
ี
ความหมายของขยะและประเภทของขยะในที่นประกอบดวย ขยะชุมชน หมายถึง ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดจาก
กิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน โดยไมรวมขยะทีเปนของเสยอันตรายและมูลฝอยติดเชื้อ ซึ่งโดยทั่วไปสามารถจำแนกไดเปน 4 ประเภท
่
ี
ั
ู
ี
่
ไดแก 1) ขยะยอยสลาย (Compostable waste) 2) ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste) หรือ มลฝอยทยงใชไดหรือมสวนของวัสด ุ
ี
เหลือใชที่สามารถนำกลับมาใชประโยชนไดใหม 3) ขยะอันตราย (Hazardous waste) และ 4) ขยะทั่วไป ซึ่งงานวิจัยนี้สนใจการ
นำขยะผานกระบวนการที่จำเปนเพื่อนำกลับมาใชประโยชนในรูปแบบเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) การทบทวน
83