Page 97 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 97
ิ
ั
4. ผลการวจย
ผลการวิเคราะหขอมลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดวยแบบสอบถามทั้ง 9 ทาน จำนวนทั้งหมด 4 รอบ มีรายละเอยด
ี
ู
ดงน ี ้
ั
ผลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญรอบที่ 1 จากปจจัยตั้งตน จำนวน 9 ปจจัย พบวาทั้ง 9 ปจจัยไดรับความเห็นชอบ
ั
้
ี
่
ึ
ิ
่
ุ
ึ
่
่
ี
ั
มากกวากงหนงของจำนวนผูเชยวชาญทังหมด และผูเชยวชาญไดใหขอเสนอแนะปรบปรงคำนยามจำนวน 3 ปจจย ไดแก ปจจยท ่ ี
ั
่
่
ั
1 ปริมาณขนะชุมชน ปจจัยที 3 ระยะทางจากชุมชนถึงพื้นท่จัดการขยะชุมชน และปจจยที 7 ขนาดพื้นที่รวบรวมขยะชุมชน ท้งน ้ ี
ั
ี
่
ผูเชี่ยวชาญไดเสนอปรับแกนิยามของปจจัยระยะทางจากชุมชนถงพื้นทีจดการขยะชมชน โดยใหยึดจากตำแหนงศนยกลางระยะท ี ่
ุ
ึ
ู
ั
่
ุ
ั
ุ
ึ
ื
ิ
ิ
ั
้
ึ
อยอาศยของชมชนไปถงพนทจดการขยะชมชน แทนตำแหนงศนยกลางองคกรปกครองสวนทองถิน (อปท.) ซงผูวจยพจารณาเห็น
ู
ี
่
ั
ู
่
ิ
ู
้
ิ
ั
่
ิ
วาการอางองศนยกลางองคกรปกครองสวนทองถนมความสะดวกในการกำหนดนิยามทงในเชงปฏบติและสามารถยุตในการอางอง ิ
ิ
ี
ิ
ั
ิ
ิ
เชิงพื้นทีไดดกวา จึงชี้แจงเหตุผลและไดรับความเหนชอบจากผูเชี่ยวชาญท่เสนอแนะนยามดงกลาวใหใชนยามตั้งตนเดม (ตารางท ่ ี
ี
ิ
่
ั
็
ี
ี
์
ิ
่
ั
4) นอกจากนี้ ยังมีการเสนอปจจัยเพิมอีก 8 ปจจัย ไดแก กรรมสิทธิในท่ดน พื้นที่ เสี่ยงภย เทคโนโลยีและระบบของการบริหาร
จัดการเชื้อเพลิงขยะ (RDF) ความตั้งใจในการแกปญหา ราคาตอหนวยของเชื้อเพลิงขยะ (RDF) ความชำนาญ องคความร ู
ั
ั
ประสบการณ และขนาดของพื้นที่จัดการชุมชน ซึ่งเมื่อนำมาวิเคราะหรวมกับวัตถุประสงคการวิจัยคร้งนี้ พบวา มีเพียง 1 ปจจย
่
้
ี
่
่
เทานั้นทีมความสอดคลองกบการกำหนดพืนท่จดการชยะชุมชนเพื่อผลิตเชื้อเพลิงขยะ (RDF) คือ ปจจัยที 10 ขนาดพื้นทีรวบรวม
ี
ั
ั
ขยะชมชน เปนผลใหมปจจยทใชในการสัมภาษณผูเชยวชาญดวยแบบสอบถามรอบท 2 ทงสิน จำนวน 10 ปจจย
ี
้
่
ี
ั
ั
ั
ุ
่
ี
ี
้
่
่
ั
ตารางที 4 นยามของปจจยทปรบแกจากการสัมภาษณผูเชยวชาญรอบที 1
ี
่
่
ั
ิ
ี
่
ิ
ตัวแปรเชิงมโนทัศน นยามเชิงปฏิบัติการ
ปจจยท ่ ี
ั
(Conceptual Variable) (Operational Definition)
1 ปรมาณขยะชุมชน ปริมาณขยะมูลฝอยตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุขโดยไมรวมมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอย
ิ
เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน และของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ที่เกิดจากกิจกรรม
ุ
ิ
ั
ตาง ๆ ในชมชน เชน บานพักอาศย ธุรกจรานคา สถานประกอบการ ตลาดสด ฯลฯ
่
่
ี
ิ
้
้
ี
้
ิ
ื
2 ขนาดพืนทจัดการขยะชุมชน ขนาดของพืนททใชในการกอสรางระบบจัดการขยะเพอผลตเชอเพลงขยะ (RDF) และระบบ
่
ื
่
ี
อื่น ๆ ที่จำเปนเพื่อการดำเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบ
ั
่
บำบดอากาศเสย พืนทกันชน ฯลฯ สามารถรองรบการจดการขยะชุมชนไดอยางนอย 20 ป
ี
้
ี
ั
ั
้
ู
ี
ี
่
3 ขนาดพืนทรวบรวมขยะชุมชน พืนทขอบเขตการปกครองทมการรวบรวมขนสง และนำเขาสระบบฯ
่
ี
่
้
ี
ี
่
ทมา: ผูวจย (2564)
ั
ิ
้
่
ี
ั
ผลจากการสัมภาษณผูเชยวชาญรอบที 2 นอกจากการใหผเชยวชาญแสดงความเห็นดวยหรือไมเหนดวยกบทง 10 ปจจย
็
ั
ั
ี
่
่
ู
ั
ิ
ิ
ั
ั
ผูเชี่ยวชาญยังสามารถใหคิดเห็นเพื่อปรบแกคำอธิบายปจจยไดเชนเดียวกับการสัมภาษณรอบแรก แตไมมีการเสนอปจจยเพ่มเตม
ผลที่ได พบวาปจจัยทั้ง 10 ปจจัย ไดรับความเห็นชอบมากกวากึ่งหนึ่งของจำนวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด นับวา ผานเกณฑการ
ี
พิจารณาทุกปจจัย และสวนของคำถามปลายเปดมการปรบแกคำอธิบายปจจัยที่ผูวิจัยไดรวบรวมและปรับแกจากคำตอบที่ไดรบ
ั
ั
ั
่
จากการตอบแบบสอบถามรอบแรก พบวา ผูเช่ยวชาญทงหมดเหนดวยในคำอธิบายทีนำเสนอในแบบสอบถามรอบนี ้
็
้
ี
ผลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญรอบที่ 3 ผูเชี่ยวชาญใหคะแนน (ความสำคัญระดับ 1-5) กับแตละปจจัยที่มีผลตอการ
กำหนดพื้นที่จัดการขยะชุมชนเพื่อผลิตเชื้อเพลิงขยะ (RDF) โดยพิจารณาความสอดคลองในความเห็นของผูเชี่ยวชาญใน แตละ
ปจจัยจากสถิตคาพิสัยระหวางควอไทล (IQR) เปนหลัก ซึ่งเปนการวัดการกระจายของขอมลดวยผลตางระหวางควอไทลที่ 3 และ
ิ
ู
ควอไทลที่ 1 และพิจารณารวมกับคามัธยฐาน (Med) ซึ่งเปนการวัดแนวโนมสูสวนกลางของชุดขอมูล ดังเชนปจจัยที่มีคาพิสัย
ระหวางควอไทล (IQR) เทากับ 0 และคามัธยฐาน (Med) เทากับ 5 (IQR=0, Med=5) เปนปจจัยที่มีความสอดคลองสูงที่สุด
ั
ี
ิ
ั
ั
ั
ในขณะทีปจจยทมคาพสยระหวางควอไทล (IQR) เทากบ 0 และคามธยฐาน (Med) เทากบ 4 (IQR=0, Med=4) มความสอดคลอง
่
ี
ี
่
ั
่
ี
ั
ั
ี
ั
่
ิ
ี
ั
ั
สูงกวาปจจยทมคาพสยระหวางควอไทล (IQR) เทากบ 1 และคามธยฐาน (Med) เทากบ 5 (IQR=1, Med=5) เปนตน (ตารางท 5)
ผลที่ได พบวามีเพียงปจจัยเดียว คือ ปจจัยระยะทางจากชุมชนถึงพื้นที่จัดการขยะชุมชน ที่มีความสอดคลองต่ำ เนื่องจากมีคา
ึ
่
ี
่
ี
IQR=2 (ตารางท 6) จงตองมการสัมภาษณผูเชยวชาญรอบที 4 ตอไป
่
ี
88