Page 231 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 231
ั
ึ
ิ
ี
่
ั
ิ
่
ิ
ิ
่
ั
ี
ภณฑขนสงสนคาจงตองอาศยแนวคดทเปนระบบเพือใหไดบรรจุภณฑทเหมาะสม โดยอาศัยความรูเชงเทคนคและความเขาใจ
ึ
่
้
ี
่
ิ
ิ
ั
ในสถานการณความเสียหายทอาจเกดขนเพือใหสนคาถงจดหมายไดอยางปลอดภย (Rattanatat, 2562)
ึ
ุ
3.1.2 การทดสอบประสิทธิภาพบรรจุภัณฑเพื่อการขนสง กอนการเลือกใชบรรจุภัณฑเพื่อการขนสงสินคา
จำเปนตองทราบรูปแบบของสภาวะอันตรายที่สินคาอาจประสบระหวางการขนสง เชน ความชื้น สภาพอากาศ อุณหภูม ิ
ั
ู
รูปแบบการลำเลียงรปแบบการเก็บรกษาสินคา สภาวะบรรยากาศ ระยะเวลา ประเภทยานพาหนะขนสง รูปแบบและจำนวน
ึ
ครั้งที่สินคามีโอกาสเสียหายได เปนตน ดังนั้นอุปกรณบันทึกขอมูลและตรวจวัดความเรงจึงเปนเครื่องมือที่เก็บและบันทก
ขอมูลกิจกรรมภาคสนามที่เกิดขึ้น ซึ่งความเสียหายที่อาจจะเกิดจากเหตุการณดังกลาว เชน การตกกระแทก (Shock and
่
Impact) การสันสะเทือน (Vibration) และการกดทับ (Compression) จึงมีผลใหสินคาเสียหาย โดยเฉพาะการตกกระแทกท ่ ี
มีแรงกระทำตอสินคามาก อีกทั้งเปนสถานการณที่ทำใหเกิดความเสียหายตอสินคามากที่สุด ซึ่งอาจสงผลใหสินคาเกิดความ
เสียหายทั้งการหัก บิด งอ หรือชำรุด การทดสอบ Drop test ทั่วไปจะเริ่มจากการปลอยสิ่งของที่ใชทดสอบลงมาในระยะ
ั
ี
ความสูงตาง ๆ จนถึงขีดสุดความสามารถของสินคาน้น ๆ เมื่อไดระยะท่สูงที่สุดจะทดสอบจำนวนครังในการทดลองวาไดมาก
้
ั
ที่สุดกี่คร้งถึงจะไมทำใหสินคาไดรับความเสียหาย (Puntharee, 2562) ดังนั้นการทดสอบบรรจุภณฑกอนการขนสงจริงจึงใช
ั
เปนตัวชี้วดประสิทธิภาพของบรรจุภัณฑได โดยการทดสอบมีทั้งการทดสอบผานหองปฏิบัติการและการจำลองเหตุการณ
ั
่
ึ
่
้
ิ
ุ
ึ
ั
้
เสมือนเหตการณทเกดขนจรงทีสุด ซงผลจากการทดสอบนีเองจะเปนผลใหบรรจุภณฑขนสงนนสามารถถูกนำไปใชงานไดอยาง
่
ี
ั
้
ิ
้
มประสิทธภาพและนาเชอถอยงขน (Rattanatat, 2562)
ี
ึ
่
ิ
ื
ื
่
ิ
3.1.3 การวิเคราะหภาระงาน (Task analysis) เปนกระบวนการของการเรียนรูเกี่ยวกับผูใชและจำลอง
ั
ื
่
้
่
ั
ื
ี
่
เหตุการณทวไป โดยสังเกตจากการใชงานจริง ขนตอน และเครืองมอทใช เพอทำความเขาใจในรายละเอียดวาผูใชงานทำงาน
่
่
่
ั
้
ไดหรือไมอยางไร การวเคราะหงานชวยบงบอกวางานทีไดเราไดกำหนดและตังกฎเกณฑไว เมือนำไปใชงานจริงแลว มนเปนไป
ิ
ตามนั้นหรือไม โดยการวิเคราะหงานมักจะสรุปเปนลำดับขั้นตอน โดยวัตถุประสงคและประเด็นของการวิเคราะหงาน คอ
ื
1) สิ่งที่ผูใชกระทำในกระบวนการนั้น 2) ประสบการณสวนตัว สังคม หรือวัฒนธรรมของผูใชงานสงผลตอการกระทำหรือไม
ิ
้
่
ิ
ั
้
ี
ั
ั
อยางไร 3) ผูใชไดรับอทธพลจากสภาพแวดลอมภายนอกหรอไมอยางไร 4) ขนตอนทกำหนดไวเมอเปรียบเทยบกบขนตอนการ
ี
ื
ื
่
ิ
ั
ิ
ปฏบติงานจรงของผูใชงาน โดยการวิเคราะหภาระงาน แบงออกเปน 2 เทคนค ดงน ี ้
ั
ิ
ี
1.การวิเคราะหภาระงานตามความรูและความเขาใจ (Cognitive task Analysis) มุงเนนไปทการทำ
่
ความเขาใจงานที่ตองการการตัดสินใจ การแกปญหา และความสนใจ จากวิธีการทำงานของผูใชผานการทำงาน โดยขั้นตอน
การทำงานนั้นใหสำเร็จอาจแตกตางกันไปตามแตละบุคคล ซึ่งมักจะขึ้นอยูกับปจจัยของบุคคลนั้น ๆ เชน ภูมิหลัง ความร ู
ประสบการณ เปนตน
2.การวิเคราะหภาระงานตามลำดับชั้น (Hierarchical task Analysis) มุงเนนไปที่การแยกยอยงาน
ตามลำดับขั้นตอน (Hackos และ Redish, 2541) (Mori, Paterno, and Santoro, 2544) โดยจะแบงออกเปนขั้นตอนและ
ี
ื
ขั้นตอนยอย การวิเคราะหภาระงานเปนเคร่องมือที่สามารถใชเพื่อกำหนดวากระบวนการใดที่สามารถดำเนินการไดโดยท่ไม
ี
ิ
ิ
่
จำเปนตองมการอธบายเพมเตม (Blake, 2562)
ิ
บทความนจะใชการวเคราะหภาระงานตามลำดับขนตอน เพอวเคราะหกระบวนการขนสงสินคาและ
้
ิ
ี
่
ิ
ื
ั
้
กำหนดประเด็นในการประเมินบรรจุภัณฑ วามีขั้นตอนใดในการขนสงที่มีโอกาสทำใหบรรจุภัณฑไดรับความเสียหายได
โดยวิเคราะหไดตามแผนภาพดังตอไปน ้ ี
223