Page 44 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 44
5. ผลการศึกษา
5.1 ชองวางของมาตรฐานอาคารเขียว
เมื่อเทียบหัวขอมาตรฐานอาคารเขียวที่มีอยูในปจจุบันกับการศึกษาหมวดหมูองคความรูอาคารเขียว (Green
ั
Building Knowledge Categories) พบวา ในมาตรฐานอาคารเขียวตาง ๆ ยงไมพบเกณฑในหวขอตาง ๆ ดงน ี ้
ั
ั
ั
ี
ิ
ั
่
ตารางที 5.1 แสดงการเทยบหวขอเกณฑการประเมณอาคารเขยวกบหมวดหมูองคความรูอาคารเขียว
ี
GREEN BUILDING KNOWLEDGE CATEGORIES LEED BREEAM CASBEE TREES
SUSTAINABLE SITES ض ض ض ض
LOCATION AND TRANSPORTATION ض ض ض ض
SHAPE OF BUILDING - - - -
ENERGY AND ATMOSPHERE ض ض ض ض
WATER ض ض ض ض
MATERIALS AND WASTE ض ض ض ض
INDOOR ENVIRONMENTAL QUALITY ض ض ض ض
SOCIAL JUSTICE - - - -
BEAUTY AND INSPIRATION - - - -
ECONOMICS - - - -
LIFE CYCLE ASSESSMENT ض ض ض -
OPERATIONS AND METRICS ض ض ض ض
LOCAL AND HEALTHY FOOD - - - -
POLICY ض - - -
ู
พบวา เมื่อเทียบกับหมวดหมองคความรูอาคารเขียวแลว มาตรฐานอาคารเขียวยังขาดเกณฑการออกแบบอาคาร
ู
อย 2 หัวขอ ไดแก 1) รูปรางของอาคาร (Shape of Building) เกี่ยวกับตัวอาคาร รูปราง ขนาดและความกระทัดรัดของอาคาร
2) ความงามและแรงบันดาลใจ (Beauty and Inspiration) เกี่ยวกับการการออกแบบและตกแตงที่สรางแรงบันดาลใจและ
ิ
ิ
ั
ี
ู
ยกระดบจตวญญาณแกผใชงานใหดขน
ึ
้
5.2 การออกแบบเชิงไบโอฟลกทเตมเตมชองวางของมาตรฐานอาคารเขียว
่
ิ
ี
ิ
็
จากการศึกษาการออกแบบเชิงไบโอฟลิก (Biophilic Design) โดย Browning and Ryan (2020) ไดมีการแบง
แนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลิกออกเปน 3 หมวดหมู 15 รูปแบบ ซึ่งสามารถนำมาประยุกตการออกแบบเชิงไบโอฟลิก
สูหมวดหมองคความรูอาคารเขียวเพื่อเติมเต็มชองวางของมาตรฐานอาคารเขียวในปจจุบันในดานรูปรางของอาคาร (Shape of
ู
ั
Building) และ ความงามและแรงบันดาลใจ (Beauty and Inspiration) ได ดงน ี ้
36