Page 40 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 40
่
ี
ี
ี
่
3. แนวคิดและทฤษฎทเกยวของ
ี
3.1 ประสิทธภาพของอาคารเขยว
ิ
ี
ิ
3.1.1 ความหมายอาคารเขยว อาคารเขียวกำหนดความเขาใจของสถาปตยกรรมที่เปนมตรกับสิ่งแวดลอมภายใต
การจำแนกทุกประเภทและไดรับความยินยอมที่เปนสากล (Burcu, 2015) หรือเปนที่รูจักในนามของ การพัฒนาที่ยั่งยน
ื
(Sustainable Development) การออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม (Eco-Design) สถาปตยกรรมทเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ี
่
(Eco-Friendly Architecture) สถาปตยกรรมที่เปนมิตรกับโลก (Earth-Friendly Architecture) สถาปตยกรรมเชิงสิ่งแวดลอม
(Environmental Architecture) และ สถาปตยกรรมเชิงธรรมชาติ (Natural Architecture) (USGBC, 2002)
3.1.2 มาตรฐานอาคารเขยวปจจบนเพอเปนการกำหนดแนวทางการออกแบบอาคารเขียวใหมประสิทธภาพจงม ี
ี
ี
ื
่
ั
ึ
ิ
ุ
่
ี
ี
มาตรฐานอาคารเขียวเปนเกณฑประเมิณประสิทธภาพของอาคารวามลักษณะทเปนมตรตอสิงแวดลอมหรือไมในปจจบนม ี
่
ิ
ิ
ั
ุ
่
ี
ู
ึ
ึ
ึ
่
้
มาตรฐานอาคารเขียวทใชอยางแพรหลายทัวโลกอยหลายมาตรฐาน ซงในการศกษานจะมุงศกษาใน 4 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐาน
่
ี
LEED (Leadership in Energy & Environmental Design) มาตรฐาน BREEAM (Building Research Establishment
Environmental Assessment Method) มาตรฐาน CASBEE (Comprehensive Assessment System for Built
ื
Environment Efficiency) และมาตรฐานอาคารเขียวของไทย คอ TREES (Thai's Rating of Energy and Environmental
ี
ิ
่
ั
Sustainability) ซงมเกณฑการพจารณาตาง ๆ ดงน ้ ี
ึ
ตารางที 3.1 แสดงเกณฑการพจารณาของมาตรฐานอาคารเขยว
่
ี
ิ
LEED BREEAM CASBEE TREES
- Integrative Process - Management - Indoor Environment - Building Management
- Location and - Health and wellbeing - Quality of Service - Site and Landscape
Transportation - Energy - Outdoor Environment - Water Conservation
- Sustainable Sites - Transport - Energy - Energy and Atmosphere
- Water Efficiency - Water - Resources and Materials - Materials and Resources
- Energy and Atmosphere - Materials - Off-Site Environment - Indoor Environmental
- Materials and Resources - Waste Quality
- Indoor Environmental - Land use and ecology - Environmental Protection
Quality - Pollution - Green Innovation
- Innovation - Innovation
- Regional Priority
ั
ี
ทมา: JSBC (2014), USGBC (2020), BRE (2021) และ สถาบนอาคารเขยวไทย (2020)
ี
่
่
ิ
3.2 พฤตกรรมทีเปนมิตรตอสงแวดลอม
ิ
่
3.2.1 ความหมายของที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Pro-Environmental
Behavior; PEB) หมายถึง การกระทำที่นำไปสูการคุมครองสิ่งแวดลอมหรือการอนุรักษ (Axelrod, 1993) โดยพฤติกรรมที่เปน
่
ี
ิ
มิตรตอสงแวดลอมสามารถแบงไดออกเปน 2 รปแบบ ไดแก พฤตกรรมทมประสิทธิภาพ (Efficiency Behaviors) ซงรวมไปถึงการ
่
ึ
ู
ี
่
ิ
ดำเนินการตาง ๆ เชน การซื้ออุปกรณประหยัดพลังงาน ฉนวน หลอดไฟประหยัดพลังงาน และ การลดลงของพฤติกรรม
(curtailment behaviors) หมายถึงพฤติกรรมที่ทำเปนกิจวัตรเพื่อลดการใชพลังงาน เชน ลดการตั้งคาตัวควบคุมอุณหภูม ิ
(Gardner and Stern, 2002)
3.2.2 ความสำคัญของพฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พฤติกรรมของผูใชอาคารสงผลตอประสิทธิภาพของ
อาคารเขียว จากการสำรวจประสิทธิภาพอาคารเขียว พบวา อาคารเขียวที่ผานมาตรฐานอาคารเขียวระดับสากลไมไดม ี
ประสิทธิภาพกวาอาคารทั่วไปและบางสวนใชพลังงานมากกวาอาคารทั่วไป โดยมีปจจัยจากระยะเวลาและปริมาณการใชงาน
32