Page 39 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 39
1. บทนำ
ั
่
ในชวงไมกี่ปที่ผานมาแนวคิดเกี่ยวกบความยังยืนไดเปนเรืองที่สาขาวชาตาง ๆ ใหความสนใจ เนื่องจากความตองการที ่
่
ิ
ื
จะพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งรวมไปถึงในดานสถาปตยกรรมคืออาคารเขียว โดยอาคารเขียวมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางความยั่งยน
และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทั้งดานการลดปริมาณทรัพยากรที่ใชในการกอสราง การใชงานอาคาร การดำเนินงานและการ
ิ
่
บำรุงรักษาอาคารใหนอยที่สุด ตลอดจนลดความเสียหายทีเกดกับสิงแวดลอมผานการปลอยมลพิษและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
่
ตาง ๆ (Ragheba et al., 2019; Cole, 2019)
ทผานมาถงแมจะมความพยายามในการพัฒนาอยางยงยนของงานดานสถาปตยกรรมโดยการนำมาตรฐานอาคารเขยวมา
ี
ี
ึ
่
ั
่
ื
ี
ใชอยางตอเนื่อง แตผลที่ไดรับนั้นยังไมบรรลุวัตถุประสงคที่กำหนดไว หลายปที่ผานมามีการศึกษาผลลัพธที่ไดจากการใชอาคาร
เขียว โดยจากการศึกษาของ Scofield (2013) โดยการตรวจสอบประสิทธิภาพดานพลังงานจากอาคารสำนักงาน พบวาอาคาร
ั
เขียวไมไดมประสิทธิภาพดีกวาอาคารทั่วไป และจากการศกษาของ Newsham (2009) โดยจากกลุมตวอยางอาคารพาณิชยท่ได
ึ
ี
ี
ั
ั
่
ั
มาตรฐาน LEED พบวารอยละ 28-35 ใชพลงงานมากกวาอาคารทวไป โดยมีปจจยจากระยะเวลาและปริมาณการใชงานอาคาร
จากผลของการศึกษาดังกลาวแสดงใหเห็นวาผูใชอาคารมีบทบาทสำคัญในกระบวนการพัฒนาอยางยั่งยืนเพื่อลด
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ซึ่งพฤติกรรมการใชงานที่ดีจะสามารถลดการใชพลังงานไดเปนอยางมาก (Janda, 2011; Kamilaris
et al., 2015) โดยพฤติกรรมที่มีแนวทางเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม เรียกวา พฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Pro-
่
่
ิ
ั
Environmental Behavior; PEB) ซงพฤตกรรมทีเปนมตรตอสิงแวดลอมของผูใชอาคารเปนสิงสำคญในการสงเสรมประสิทธภาพ
ิ
ิ
่
่
ิ
ึ
ของอาคารเขียว (Xie et al., 2017; Tezel et al., 2018)
่
ิ
่
ี
ิ
ิ
ิ
ในขณะทพฤตกรรมทีเปนมตรตอสงแวดลอมมบทบาทสำคัญตอความสำเร็จของอาคารเขียว ทวาจากการสำรวจอทธพล
ิ
ี
่
ของบริบทตอพฤติกรรมผูใชอาคาร พบวาการอาศัยอยูในอาคารเขียวกลับไมสงผลตอพฤติกรรมของผูใชอาคารที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอม (Hamilton, 2020) โดยสถาปตยกรรมสามารถกระตุนแนวคิดของบุคคลเกี่ยวกับความยั่งยืนและชวยลดชองวาง
ี
ู
้
ั
ั
ั
ิ
่
ิ
ระหวางทศนคตและพฤติกรรมได ดงนนผูออกแบบอาคารเขียวจงตองพฒนาหาวิธการออกแบบอาคารเขียวทีสงเสรมใหผใชอาคาร
ั
ึ
เกดพฤตกรรมทีเปนมตรตอสงแวดลอม (Trujillo et al., 2021)
ิ
่
ิ
ิ
ิ
่
จากการศึกษาของ Blankenberg และ Alhusen (2019) พบวา ปจจัยของพฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตอง
่
ึ
พจารณาปจจยทางสังคมและประชากร ทศนคต นสย และบริบท ซงการออกแบบซงเปนปจจยดานบรบทขนอยกบความเปนอยท ี ่
ู
ิ
ึ
ั
ั
ั
ู
้
ิ
ิ
ึ
ั
ิ
ั
่
่
้
่
ึ
ิ
ั
ิ
ี
่
ี
ด (Well-being) และการเชือมตอกบธรรมชาต เพราะผูทมปฏสัมพนธกบธรรมชาติจะมีพฤตกรรมทเปนมตรตอสิงแวดลอมมากขน
ิ
ั
ี
่
ั
ิ
ี
(Geng et al., 2015; Whitburn et al., 2019) ซึ่งการออกแบบเชิงไบโอฟลิก (Biophilic Design) คือการออกแบบเพื่อความ
ยั่งยืนดวยการเชื่อมตอกับธรรมชาติและสรางความเปนอยูที่ดี (Makram, 2019) โดยในปจจุบันการออกแบบเชิงไบโอฟลิกม ี
แนวโนมการเติบโตเพิมมากขน (Zielinska-Dabkowska, 2019)
่
ึ
้
ิ
ิ
ดังนั้น เพื่อสนบสนุนความสำเร็จของอาคารเขียวดวยการสนับสนุนพฤตกรรมทีเปนมตรตอส่งแวดลอมผานการเชื่อมตอ
ั
ิ
่
ิ
ึ
ื
ึ
่
่
ั
ี
กบธรรมชาติดวยการออกเชิงแบบไบโอฟลิก จงเปนทมาของการศกษา “แนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลกในสถาปตยกรรมเพอ
สนบสนนพฤตกรรมทีเปนมตรตอสงแวดลอมสำหรับสงเสรมประสิทธภาพของอาคารเขยว”
ิ
ั
ุ
่
ิ
ิ
ี
ิ
ิ
่
ั
ุ
2. วตถประสงคของการศึกษา
เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลิกในสถาปตยกรรมที่สามารถสงเสริมชองวางของมาตรฐานอาคารเขียวได
ิ
ี
่
่
ั
ิ
ุ
เพอสนบสนนพฤตกรรมทีเปนมตรตอสิงแวดลอมสำหรับประสิทธภาพของอาคารเขยว
ิ
่
ื
31