Page 41 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 41
อาคาร แสดงใหเห็นวาพฤติกรรมของผูใชอาคารเปนปจจัยสำคัญที่สงผลตอการใชพลังงานและประสิทธิภาพของอาคารเขียว
(Newsham, 2009; Janda, 2011; Scofield, 2011; Kamilaris, 2015) โดยจากการศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมผูใช
่
ิ
ิ
ั
ี
ั
ั
่
อาคารกบอาคารเขยว พบวา พฤตกรรมทีเปนมตรตอสิงแวดลอมจะสามารถลดการใชพลงงานไดเปนอยางมากและมีบทบาทสำคญ
ในการพฒนาอาคารเขยว (Xie et al., 2017; Giritli and Tezel, 2018; Bhaskara and Syahriyah, 2019)
ั
ี
3.3 การออกแบบเชิงการออกแบบเชิงไบโอฟลกในสถาปตยกรรม
ิ
ื
3.3.1 ความหมายของการออกแบบเชิงไบโอฟลิก การออกแบบเชิงไบโอฟลิก (Biophilic Design) คอ แนวทางการ
ออกแบบที่มุงเนนดานการเชื่อมตอกับธรรมชาติ จากการศึกษาของ Edward O. Wilson ในปค.ศ. 1993 ไดอธิบายไววา ไบโอฟ
เลีย (Biophilia) คอ “ความผูกพนทางอารมณโดยกำเนิดของมนุษยกบสงมชวตอนๆ” หลงจากทมนษยอพยพไปยงสภาพแวดลอม
ิ
ื
ื
ุ
ี
่
ั
ั
่
ี
ั
่
ิ
ี
ั
้
ั
ี
ึ
ิ
ั
่
ิ
่
ึ
ทสรางขน เราไดรับความตองการธรรมชาตซึงพฒนาเปน “การคดถงธรรมชาต” แนวคิดดานการออกแบบเชิงไบโอฟลิกไดรบการ
ิ
พัฒนาในทางสถาปตยกรรมในชวงตนศตวรรษที่ 21 โดยมุงเนนในดานอารมณของความตองการของมนุษยในการปฏสัมพันธกบ
ิ
ั
สภาพแวดลอมทางธรรมชาติในสภาพแวดลอมของอาคาร เพอเปนแนวทางในการออกแบบเพือตอบสนองความตองการธรรมชาต ิ
่
ื
่
ในงานสถาปตยกรรม (Zhong, 2022)
ื
3.3.2 ความสำคัญของการออกแบบเชงไบโอฟลกเนองจากการออกแบบเชงไบโอฟลกคอแนวทางการออกแบบท ี ่
ิ
ื
่
ิ
ิ
ิ
ิ
มุงเนนดานการเชื่อมตอกับธรรมชาต ซึ่งจากศึกษาพฤติกรรมของมนุษยกับการเชื่อมตอกบธรรมชาติ พบวา การเชื่อมตอกบ
ั
ั
ิ
่
่
ี
ธรรมชาตสงผลตอความตระหนักดานสิ่งแวดลอมและพฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยผูทีมความเชือมโยงกับธรรมชาติสูง
มักมีพฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากกวาผูที่มีรสึกเชื่อมโยงกับธรรมชาตินอยกวา ซึ่งเปนผลมาจากมาจากความรูสึกเปน
ู
หนึ่งเดียวกับธรรมชาตทำใหมนุษยมีความใสใจตอธรรมชาตมากขึ้น (Dutcher et al., 2007; Geng et al., 2015; Whitburn et
ิ
ิ
al., 2019; Hamilton, 2020; Trujillo, 2021) จึงกลาวไดวา แนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลิกมีแนวโนมในการสงเสรม
ิ
ิ
่
พฤตกรรมทเปนมตรตอสิงแวดลอมในแงของการสงเสรมจตสำนึกตอธรรมชาติ
ิ
ี
่
ิ
ิ
3.3.2 แนวทางการการออกแบบเชิงไบโอฟลิก แนวทางในการการออกแบบเชิงไบโอฟลิกของ Browning and
Ryan (2020) ประกอบดวย 3 หมวดหมู และ 15 รูปแบบในการออกแบบ โดยตีความและสรุปกรอบแนวคิดจากความสัมพันธ
ระหวางมนุษยกับธรรมชาติ โดยพิจารณาจากการตอบสนองทางชีวภาพทั้งในดานสุขภาพจิต สุขภาพทางสรีรวิทยาและความ
ี
ี
่
เปนอยทด และ การทำงานและประสิทธภาพของการรบรู
ู
ั
ิ
ู
รปท 3.1 แนวทางการออกแบบเชงไบโอฟลิกของ Browning and Ryan (2020)
่
ิ
ี
ี
่
ทมา: Browning and Ryan (2020)
33