Page 106 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 106
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
6. อภิปรายผลการวิจัย
จากการสังเกตลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพ พฤติกรรมและปัญหาของผู้เข้าชมส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่าย
์
่
์
่
้
่
ภายในพิพิธภัณฑสงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี พบวาพิพิธภัณฑไมใหความส�าคัญกับแสงสวางที่เพียงพอ ลักษณะ
ี
ี
ของแสงไม่เหมาะสมกับการจัดแสดงวัตถุและภาพถ่าย จากผลการวิจัยช้ให้เห็นว่าผู้เข้าชมส่วนใหญ่คิดว่าปัญหาท่พบ คือ
แสงสว่างเฉพาะจุดยังไม่เพียงพอ แสงไฟสะท้อนกับภาพถ่ายซึ่งเป็นอุปสรรคในการชม แสดงว่าลักษณะสภาพแวดล้อมทาง
�
ี
ิ
่
กายภาพปัจจัยด้านลักษณะของแสงทาให้ผู้เข้าชมเกิดความอ่อนล้าในการชมพิพิธภัณฑ์สอดคล้องกับข้อคดเห็นทว่า ปัจจัย
การออกแบบการจัดแสดงมีผลกระทบต่อความสนใจของผู้เข้าชมเป็นสาเหตุของการเกิดความอ่อนล้าในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์
(Bitgood, 2002) จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่และผู้เข้าชมพบว่าสิ่งที่ควรได้รับการปรับปรุง มีดังนี้
1. เพิ่มแสงสว่างเฉพาะจุดให้ไม่น้อยกว่า 100 ลักซ์ บริเวณจัดแสดงภาพถ่ายให้มีแสงสว่างที่ 50 ลักซ์ เพื่อถนอม
สีภาพ
�
่
�
ี
ี
2. แสงสว่างภายในควรอยู่ในระดับท่ทาให้ดวงตาไม่ล้า คือ 100 ลักซ์ (ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ และวีรยา เอ่ยมฉา,
2556)
จากการสังเกตลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ปัจจัยด้านเทคนิคการจัดแสดง พบว่าวิธีการจัดแสดงไม่ดึงดูด
ความสนใจจากผู้เข้าชมให้ชมด้วยระยะเวลานาน สังเกตได้จากพฤติกรรมของผู้เข้าชมท่ความสนใจลดลงเม่อชมพิพิธภัณฑ์
ี
ื
ไปสักระยะหนึ่ง และเดินผ่านอย่างไวๆ ในช่วงท้ายก่อนไปสู่ส่วนการจัดแสดงอื่นๆ ซึ่งผลจากการสัมภาษณ์ปัจจัยด้านเทคนิค
การจัดแสดงพบว่า
1. ควรจัดวางวัตถุไว้บริเวณกลางห้องจัดแสดง
2. ควรติดตั้งภาพถ่ายไว้ในระดับสายตาและมีการเว้นจังหวะ
3. แบ่งวัตถุให้เป็นหมวดหมู่ จัดวางให้ไม่หนาแน่นเกินไป
4. ปรับปรุงรูปแบบป้ายบรรยายวัตถุ และติดตั้งไว้ภายนอกตู้จัดแสดง
้
ู
ิ
่
ั
้
ุ
�
ั
ื
ุ
ิ
่
ั
ื
่
5. ควรปรบปรงรปแบบและเพมป้ายบอกทิศทางในจุดทางแยกและทางเชอมไปยงจดแสดงอนๆ ตดตงไวในตาแหนง ่
ที่มองเห็นได้ชัด
6. ควรเพิ่มเสียงประกอบการบรรยายเฉพาะจุด และเพิ่มเสียงดนตรีเพื่อสร้างบรรยากาศภายในห้องจัดแสดง
7. เพิ่มการจ�าลองบรรยากาศของเรื่องราวที่จัดแสดง
8. เพิ่มพื้นที่นั่งพักส�าหรับผู้เข้าชม
ิ
ื
ั
ี
เจ้าหน้าที่คิดเห็นว่า ควรเพ่มการจัดแสดงวีดิทัศน์เล่าเร่องราวในสมัยสงครามโลกคร้งท่ 2 ด้วย สอดคล้องกับข้อคิดเห็น
ี
ท่ว่า เทคนิคการจัดแสดงซ่งเป็นส่วนหน่งของปัจจัยการออกแบบการจัดแสดง เป็นสาเหตุของความอ่อนล้าในการชมพิพิธภัณฑ์
ึ
ึ
ี
ั
ั
(Bitgood, 2002) ดังน้นส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกคร้งท่ 2 จังหวัดกาญจนบุรีจึงควรใช้
เทคนิคการจัดแสดงเพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้เข้าชม ดังนี้
ี
1. การติดต้งภาพถ่ายป้ายบรรยายติดผนังหรือป้ายบอกทิศทางมีความสูงท่เหมาะสมแก่ผู้ท่น่งและยืน คือ 1.20-1.70
ี
ั
ั
ื
ื
เมตร เพ่อให้ผู้พิการสามารถมองเห็นได้ควรใช้ภาษาท่ง่าย มีภาพวาดโครงร่างช่วยเสริมข้อความ เพ่อช่วยให้ผู้มีปัญหาในการ
ี
อ่านเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
2. ลักษณะของป้ายบรรยายวัตถุหรือข้อความบรรยายในส่วนต่างๆ ปรับปรุงให้มีขนาด 4.5 มิลลิเมตร ในระยะ
การมองน้อยกว่า 75 เซนติเมตร ขนาด 9 มิลลิเมตร ในระยะการมอง 1 เมตร ขนาด 1.9 เซนติเมตร ในระยะการมอง
ั
ิ
ี
2 เมตร และขนาด 2.8 เซนตเมตร ในระยะการมอง 3 เมตร เลือกขนาดและประเภทท่เหมาะสมกบระยะการมองเห็น
ในอัตราส่วนที่เหมาะสม พร้อมทั้งลดแสงสะท้อนหรือแสงจ้าของป้ายด้วยการใช้แสงสีเหลือง
3. ขนาดของตู้จัดแสดงอยู่ที่ลักษณะของวัตถุจัดแสดง ควรมีขนาดกว้าง 1.20 เมตร 1.80 เมตร 2.40 เมตร และ
ื
สูงไม่เกิน 0.90 เมตรจากพ้น ตู้จัดแสดงแบบสูงจากพ้นถึงเพดานและมีกระจกสูงต้งแต่ 1.80 เมตรข้นไปควรทาให้เห็นขอบต ู้
ั
ึ
ื
�
ชัดเจน โดยใช้สีตัดกันและใช้แสงสว่างช่วย (ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ และวีรยา เอี่ยมฉ�่า, 2556)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
101 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.