Page 111 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 111
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ได้มากขึ้น จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่า คนสูงวัยกลุ่มนี้ต้องการเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ศึกษาประเพณีท้องถิ่น เข้าร่วมกิจกรรม
ทางศาสนา ทั้งยังพบว่าสถานที่ท่องเที่ยวในตัวเมืองน่านมีศักยภาพในการรองรับผู้สูงวัยในด้านการออกแบบสิ่งอ�านวยความ
ั
ี
ี
�
ี
ื
สะดวกข้นพ้นฐาน เช่น การมีทางลาดบริเวณบาทวิถี และสถานท่ท่องเท่ยว การมีห้องน้าสาธารณะท่รองรับกลุ่มผู้สูงวัย
เป็นต้น สุรีย์ บุญญานุพงศ์ และกรวรรณ สังขกร, (2555) จากงานวิจัยดังกล่าว พบว่ายังไม่มีการศึกษาเรื่องที่พักเพื่อรองรับ
นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นวัยที่มีการเสื่อมสภาพของร่างกาย เคลื่อนไหวได้ช้าลง เหนื่อยง่าย การฟังและการมองเห็นเริ่มมี
ปัญหา ส่งผลกับการออกแบบที่พักส�าหรับผู้สูงวัย ผู้วิจัยจึงได้ตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการสถานที่พักของ
กลุ่มนักท่องเที่ยวสูงวัยที่ควรมีการออกแบบสิ่งอ�านวยความสะดวกที่เอื้อต่อการใช้งานของผู้สูงวัย
ิ
ี
ึ
ส่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงวัย หมายความว่า ส่วนของอาคารท่สร้างข้นและอุปกรณ์อันเป็นส่วนประกอบของ
้
่
ี
ั
อาคารทตดหรอตงอย่ภายในและภายนอกอาคาร เพออานวยความสะดวกในการใช้อาคารสาหรบผ้สงวย เช่น ป้ายแสดง
�
ื
ื
ู
่
ั
ู
�
ู
ั
ิ
ส่งอ�านวยความสะดวก ทางลาดและลิฟต์ บันได ท่จอดรถ ทางเข้าอาคาร ทางเดินระหว่างอาคาร และทางเช่อมระหว่างอาคาร
ื
ี
ิ
ประตู ห้องส้วม และพื้นผิวต่างสัมผัส เป็นต้น (กระทรวงมหาดไทย คณะกรรมการควบคุมอาคาร, 2548)
ี
ี
ั
ี
ี
ึ
การวิจัยคร้งน้จึงสนใจศึกษาท่พักประเภทเกสท์เฮ้าส์ ซ่งเป็นท่พักท่เหมาะสมกับกิจกรรม พฤติกรรม และยังสอดคล้อง
กับนโยบายของส�านักงานพื้นที่พิเศษเมืองน่าน ที่ต้องการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถด�ารงได้อย่างยั่งยืน
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพื่อส�ารวจสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงวัยภายในเกสท์เฮ้าส์ในตัวเมืองน่านในการรองรับนักท่องเที่ยวสูง
วัยยุคเบบี้บูมเมอร์
2.2 เพ่อศึกษาความคิดเห็นและการปรับตัวของผู้ประกอบการเกสท์เฮ้าส์ในตัวเมืองน่านในการเตรียมความพร้อม
ื
รองรับนักท่องเที่ยวสูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์ที่เข้าพัก
ิ
ี
ี
2.3 เพ่อศึกษาความคิดเห็นของนักท่องเท่ยวสูงวัยยุคเบบ้บูมเมอร์ในด้านการออกแบบส่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับ
ื
ผู้สูงวัยในเกสท์เฮ้าส์ที่เข้าพัก
่
2.4 เพ่อเสนอแนะแนวทางการออกแบบสงอ�านวยความสะดวกในเกสท์เฮ้าส์ในตัวเมืองน่านส�าหรับนักท่องเท่ยว
ี
ื
ิ
สูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์
ี
2.5 เพ่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ประกอบการและนักท่องเท่ยวสูงวัยยุคเบบ้บูมเมอร์เก่ยวกับองค์ประกอบเกสท์เฮ้าส์
ี
ี
ื
ที่สื่อบรรยากาศความเป็นจังหวัดน่าน
3. ขอบเขตของการวิจัย
3.1 การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเกสท์เฮ้าส์ที่ตั้งอยู่ในย่านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม อ�าเภอเมือง จังหวัดน่าน เท่านั้น
ั
ี
ี
3.2 การวิจัยคร้งน้มีการเลือกกรณีศึกษาและกลุ่มผู้ให้ข้อมูลท่คัดเลือกเป็นแบบเจาะจง โดยเกสท์เฮ้าส์ท่เลือกเป็น
ี
ท่พักขนาดเล็กสภาพกลมกลืนกับชุมชน มีความสงบ สะอาด ท่พักเป็นมิตรกับส่งแวดล้อมและมีการจ้างงานและจัดซื้อวัตถุดิบ
ี
ี
ิ
จากท้องถิ่น ผู้ให้ข้อมูลแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 1) ผู้ประกอบการของเกสท์เฮ้าส์ที่คัดเลือก 2) นักท่องเที่ยวสูงวัยชาวไทยที่มี
อายุ 52-70 ปีที่เข้าพักเกสท์เฮ้าส์ที่คัดเลือก
4. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ชลดรงค์ ทองสง (2558) ศึกษาแนวคิดการท่องเที่ยวแบบไม่เร่งรีบ (Slow Tourism) ที่เน้นกิจกรรมผ่อนคลาย เช่น
ี
ิ
ี
การท่องเท่ยวเท่ยวเชิงวัฒนธรรม ศึกษาประเพณีท้องถ่น เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ซ่งเหมาะกับนักท่องเท่ยวสูงวัยยุคเบบ ี ้
ึ
ี
ี
บูมเมอร์ จากการศึกษาของ สุรีย์ บุญญานุพงศ์ และกรวรรณ สังขกร (2555) พบว่าจังหวัดน่านมีแหล่งท่องเท่ยวท่มีศักยภาพสูง
ี
Vol. 8 106