Page 104 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 104
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ตารางที่ 2 ความคิดเห็นต่อลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพในปัจจุบันของส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์
สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี (ต่อ)
ปัจจัย ความคิดเห็นของผู้เข้าชม 4 คน ความคิดเห็นของผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ 1 คน
และเจ้าหน้าที่ 1 คน
แสงสว่างภายใน ผู้เข้าชม 3 คนและเจ้าหน้าที่ 1 คนคิดเห็นว่าแสงสว่างภายในส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่าย
ยังไม่เพียงพอ
แสงสว่างเฉพาะจุด แสงสว่างเฉพาะจุด บริเวณจัดแสดงเครื่องใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่เพียงพอ ท�าให้วัตถุที่
จัดแสดงไม่มีความโดดเด่น มองเห็นรายละเอียดไม่ชัดเจน แต่แสงสว่างเฉพาะจุดในบริเวณจัดแสดง
ภาพถ่ายในสมัยสงครามโลกคร้งท่ 2 เพียงพอ โดยท่ผู้เข้าชม 1 คนให้ความเห็นว่าสีและบรรยากาศ
ี
ี
ั
ของแสงท�าให้ความน่าสนใจของภาพลดลง ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์กล่าวว่าส่วนจัดแสดงภาพถ่าย ตั้งใจ
ื
�
ไม่เปิดไฟ เน่องจากให้ความสาคัญกับการคงสภาพของภาพถ่ายมากกว่า เพราะการเปิดแสงไฟส่อง
ไปที่ภาพนานๆ สีภาพจะจางลง
การติดตั้งภาพถ่าย ผู้เข้าชมทุกคนคิดเห็นว่าการติดตั้งภาพถ่ายไว้ เจ้าหน้าที่กล่าวว่า ภาพถ่ายมีจ�านวนมาก
บริเวณผนังและเพดานห้องจัดแสดงสูงเกินกว่า ที่ติดตั้งไม่พอ จึงต้องติดลามไปถึงเพดาน
1.8 เมตร ท�าให้เห็นได้ไม่ชัดเจนว่าเป็นการ แต่ที่อยู่สูงๆ ก็เป็นอุปสรรคต่อผู้ชม มองไม่เห็น
แสดงภาพอะไร
การจัดวางวัตถุ การจัดวางวัตถุไว้บริเวณกลางห้องจัดแสดงท�าให้น่าสนใจกว่าการจัดวางไว้ชิดผนังด้านใดด้านหนึ่ง
เพราะสามารถมองเห็นได้รอบทิศทาง
การจัดวาง การจัดวางเครื่องเรือนส�าหรับตั้งวางวัตถุ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์และเจ้าหน้าที่กล่าวว่า
เครื่องเรือน หนาแน่นเกินไป ท�าให้วัตถุไม่เด่นชัดและเกิด เครื่องเรือนที่ใช้มาจากการสะสม มีบางส่วนที่
การซ้อนทับกัน ท�าเพิ่มเติมเน้นใช้สีขาว จัดวางเอง
ป้ายบรรยายวัตถุ ผู้เข้าชม 3 คนคิดเห็นว่าป้ายบรรยายวัตถุ เจ้าหน้าที่กล่าวว่า ป้ายบรรยายวัตถุชัดเจน
และค�าบรรยาย ไม่ชัดเจน อยากให้มีการติดตั้งป้ายบรรยายวัตถุ แต่ก็มีเสียหายไปบ้างแล้ว ค�าบรรยายใต้
ภาพถ่าย ไว้ด้านหน้าวัตถุภายนอกตู้จัดแสดง เพื่อให้ ภาพถ่ายไม่ค่อยชัดมีบางส่วนที่เลือนรางไปแล้ว
สะดวกในการอ่านข้อมูลและไม่บดบังวัตถุที่
�
จัดแสดงคาบรรยายภาพถ่ายไม่ชัดเจน เลือนราง
ตัวหนังสือเล็กเกินไป
วัตถุที่เป็นจุดเด่น ผู้เข้าชมทุกคนคิดเห็นว่าอนุสาวรีย์โลงแก้วบรรจุ เจ้าหน้าที่คิดเห็นว่าวัตถุ เช่น พวกรถไฟ อาวุธ
ศพห้องจ�าลองบรรยากาศอาวุธและยานพาหนะ ในสมัยสงคราม แต่ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์คิดเห็นว่า
ที่เป็นจุดเด่นและสามารถดึงดูดความสนใจจาก จุดเด่นคือสะพานไม้ที่อยู่ภายในพิพิธภัณฑ์
ผู้เข้าชม
เส้นทางและป้าย ผู้เข้าชมทุกคนรู้สึกสับสนในเส้นทางการเดินชม เจ้าหน้าที่กล่าวว่า ปัญหาที่พบ คือ ต้องชี้
บอกทิศทาง และคิดว่าป้ายบอกทิศทางไม่เพียงพอ เส้นทางให้ผู้เข้าชมเดินและอยากให้ปรับปรุง
บางต�าแหน่งอยู่ลึกเกินไป ไม่สามารถมองเห็น เรื่องป้ายบอกทาง มีการท�ามาเพิ่มแล้วแต่อาจ
เส้นทางที่จะไปสู่ส่วนจัดแสดงถัดไป จะยังไม่เพียงพอ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์กล่าวว่า
การเขียนบอกทิศทางน่าจะเพียงพอแล้ว
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
99 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.