Page 114 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 114

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                       5.2  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

                                                      ี
                                                                                       ื
                                                                                            �
                              ื
                           เคร่องมือวิจัยมี 3 ชนิดและอุปกรณ์ท่ใช้ ได้แก่ กล้องถ่ายภาพ ตลับเมตร และเคร่องมือสาหรับวัดความลาดเอียง
                เครื่องมือวิจัยมีรายละเอียด ดังนี้
                                                          �
                                            �
                           5.2.1  แบบสารวจส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงวัยและสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเกสท์เฮ้าส์ มีความยาว
                                     �
                                          ิ
                                                                                  ื
                                                                                             ั
                                                               ี
                                                                                            ี
                28 หน้า แบ่งเป็น 4 ส่วนย่อย คือ ส่วนท่ 1 ข้อมูลด้านสถานท่ของกรณีศึกษา ได้แก่ ช่อและสถานท่ต้ง ขนาดของเกสท์เฮ้าส์
                                               ี
                                                              ิ
                                                                                              ิ
                ลักษณะการตกแต่งโดยรวม และผังพ้น ส่วนท่ 2 แบบสารวจส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงวัย ได้แก่ ส่งอานวยความสะดวก
                                                                              �
                                                                �
                                            ื
                                                  ี
                                                                                                �
                                                         �
                ส�าหรับผู้สูงวัยขั้นพื้นฐาน และสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงวัยเพิ่มเติม ส่วนที่ 3 แบบส�ารวจด้านการใช้งานและความ
                คิดเห็นเกี่ยวกับเกสท์เฮ้าส์ของผู้วิจัย ได้แก่ ปัญหา-ข้อจ�ากัด และแนวทางการปรับปรุงของบริเวณต่างๆ ในเกสท์เฮ้าส์ และ
                                                           ี
                                                             ื
                                             ี
                ส่วนท่ 4 แบบสารวจการออกแบบพ้นท่ภายในเกสท์เฮ้าส์ท่ส่อถึงบรรยากาศความเป็นจังหวัดน่าน ได้แก่ รูปแบบของเกสท์เฮ้าส์
                                           ื
                     ี
                            �
                                                             �
                                                                                                     ี
                                                                  ี
                                                                                                          ื
                และการเลือกใช้วัสดุประกอบอาคารในส่วนต่างๆ เป็นแบบสารวจท่ผู้วิจัยออกแบบและพัฒนามาจากแบบสารวจท่พักเพ่อการ
                                                                                                �
                ท่องเที่ยวที่สามารถรองรับ ผู้สูงวัย กลุ่มครอบครัว และกลุ่มผู้ด้อยโอกาส (กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ส�านักพัฒนาบริการ
                ท่องเที่ยว ส�านักงานพัฒนาการท่องเที่ยว 2550) รวมทั้ง กฎกระทรวงก�าหนดสิ่งอ�านวยความสะดวกในอาคารส�าหรับผู้พิการ
                หรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 (กระทรวงมหาดไทย คณะกรรมการควบคุมอาคาร, 2548)
                           5.2.2  แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเกสท์เฮ้าส์ มีความยาว 4 หน้า แบ่งเป็น 4 ส่วนย่อย คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูล
                ทั่วไป  ได้แก่  ชื่อ  ต�าแหน่ง  และระยะเวลาในการท�างาน  ส่วนที่  2  การปรับตัวของผู้ประกอบการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
                สูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์ ได้แก่ ความตระหนักถึง และการเตรียมตัวเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวสูงวัยที่เข้าพัก ส่วนที่ 3 เกสท์เฮ้าส์
                ท่เหมาะสมทางด้านกายภาพสาหรับผู้สูงวัยยุคเบบ้บูมเมอร์  ได้แก่  ส่งท่ควรมีเพ่มเติมหรือแนวทางการปรับปรุงเกสท์เฮ้าส์
                                                                     ิ
                                                                              ิ
                  ี
                                                       ี
                                        �
                                                                        ี
                                                           ิ
                                                                           �
                                                             �
                                                  ื
                  ั
                    ิ
                     �
                ท้งส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงวัยข้นพ้นฐาน และส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงวัยเพ่มเติม และส่วนท่ 4 แบบสารวจ
                                                                                                          �
                                                                                                   ี
                                               ั
                                                                                       ิ
                                    �
                การออกแบบพื้นที่ภายในเกสท์เฮ้าส์ที่สื่อถึงบรรยากาศความเป็นจังหวัดน่าน ได้แก่ รูปแบบของเกสท์เฮ้าส์ และการเลือกใช้
                วัสดุประกอบอาคารในส่วนต่างๆ  เป็นแบบสัมภาษณ์ที่ออกแบบและพัฒนาโดยผู้วิจัย  มีการขอความคิดเห็นและข้อสงสัยที่มี
                ต่อค�าถามในแบบสัมภาษณ์ระหว่างการกรอกแบบสัมภาษณ์
                           5.2.3  แบบสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวสูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์ ที่เข้าพัก มีความยาว 4 หน้า แบ่งเป็น 4 ส่วนย่อย
                คือ  ส่วนที่  1  เกสท์เฮ้าส์ที่ท่านเข้าพักครั้งล่าสุด  ได้แก่  จุดมุ่งหมายการเดินทาง  พักร่วมกับใคร  ราคาและประเภทห้องพัก
                                                                             ื
                ส่วนท่ 2 ลักษณะทางกายภาพของเกสท์เฮ้าส์ท่ท่านคิดว่าเหมาะสมกับการใช้งานพ้นท่ภายในของท่าน ได้แก่ ส่งท่ควรมีเพ่มเติม
                                                                                                 ิ
                                                   ี
                                                                               ี
                                                                                                          ิ
                     ี
                                                                                                    ี
                                                                                          �
                                                                                                         �
                                                                              ื
                                                                                        ิ
                                                                            ั
                                                                 �
                                             ั
                                               ิ
                หรือแนวทางการปรับปรุงเกสท์เฮ้าส์ท้งส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงวัยข้นพ้นฐาน  และส่งอานวยความสะดวกสาหรับ
                                                 �
                                          �
                ผู้สูงวัยเพ่มเติม  ส่วนท่  3  แบบสารวจการออกแบบพ้นท่ภายในเกสท์เฮ้าส์ท่ส่อถึงบรรยากาศความเป็นจังหวัดน่าน  ได้แก่
                        ิ
                                  ี
                                                                            ื
                                                                           ี
                                                            ี
                                                          ื
                รูปแบบของเกสท์เฮ้าส์ และการเลือกใช้วัสดุประกอบอาคารในส่วนต่างๆ และส่วนท่ 4 ข้อมูลท่วไป ได้แก่ อายุ อาชีพ รายได้
                                                                                       ั
                                                                              ี
                และปัญหาสุขภาพที่มีผลกับการออกแบบภายใน  เป็นแบบสัมภาษณ์ที่ออกแบบและพัฒนาโดยผู้วิจัย  มีการขอความคิดเห็น
                และข้อสงสัยที่มีต่อค�าถามในแบบสัมภาษณ์ระหว่างการกรอกแบบสัมภาษณ์
                       5.3  การเก็บรวบรวมข้อมูล
                           การเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
                           5.3.1  ผู้วิจัยศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของเกสท์เฮ้าส์กรณีศึกษา  4  แห่ง  คือ  1)  บ้านๆ  น่านๆ  ห้องสมุด  แอนด์
                                                                                                         ื
                เกสท์โฮม  2)  เฮือนน่านนิทราเกสท์เฮ้าส์  3)  เฮือนช้างเผือกเกสท์เฮ้าส์  และ  4)  เฮือนม่วนใจเกสท์เฮ้าส์  ข้อมูลเบ้องต้น
                ประกอบด้วย ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง จ�านวนห้องพัก ประเภทของห้องพัก ราคาที่พักต่อคืน ผู้วิจัยศึกษาจากเว็ปไซต์ https://www.
                facebook.com/บ้านๆ น่านๆห้องสมุด แอนด์เกสท์โฮม, http://www.nannitraguesthouse.com, http://www.edtguide.com/
                hotel/เฮือนช้างเผือก, http://www.tee-pak.com/เฮือนม่วนใจ ผู้วิจัยใช้เวลาในการศึกษาด้วยตัวเองประมาณ 1 เดือน
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             109    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119