Page 115 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 115
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
5.3.2 ส�ารวจเกสท์เฮ้าส์กรณีศึกษาด้วยการจดบันทึก ถ่ายภาพสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก รวมทั้ง
ตรวจสอบสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงวัยในเกสท์เฮ้าส์ ผู้วิจัยเข้าพักเกสท์เฮ้าส์ทั้ง 4 แห่งเรียงล�าดับ ดังนี้ 1) เข้าพัก
และส�ารวจ บ้านๆ น่านๆ ห้องสมุด แอนด์ เกสท์โฮม ในวันที่ 4-5 มกราคม 2560 2) เข้าพักและส�ารวจ เฮือนน่านนิทรา
เกสท์เฮ้าส์ ในวันที่ 5-6 มกราคม 2560 3) เข้าพักและส�ารวจ เฮือนช้างเผือกเกสท์เฮ้าส์ ในวันที่ 6-7 มกราคม 2560
4) เข้าพักและส�ารวจ เฮือนม่วนใจเกสท์เฮ้าส์ ในวันที่ 9-11 มกราคม 2560 โดยในแต่ละที่ใช้เวลาส�ารวจประมาณ 1 ชั่วโมง
ี
ี
5.3.3 สัมภาษณ์ผู้ประกอบการเกสท์เฮ้าส์ จ�านวน 4 คน และนักท่องเท่ยวสูงวัยชาวไทยยุคเบบ้บูมเมอร์ภายใน
ั
เกสท์เฮ้าส์ จ�านวน 10 คน จากเกสท์เฮ้าส์ท้ง 4 แห่ง โดยเรียงล�าดับ ดังน้ 1) สัมภาษณ์ผู้ประกอบการบ้านๆ น่านๆ ห้องสมุด
ี
แอนด์ เกสท์โฮม ในวันพุธท่ 4 มกราคม 2560 เวลา 10.30-11.30 น. 2) สัมภาษณ์ผู้ประกอบการเฮือนน่านนิทราเกสท์เฮ้าส์
ี
ในวันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 11.00-11.45 น. 3) สัมภาษณ์ผู้ประกอบการเฮือนช้างเผือกเกสท์เฮ้าส์ ในวันศุกร์
ท่ 6 มกราคม 2560 เวลา 17.00-17.35 น. 4) สัมภาษณ์ผู้ประกอบการเฮือนม่วนใจเกสท์เฮ้าส์ ในวันจันทร์ท่ 9 มกราคม 2560
ี
ี
เวลา 16.45-17.30 น. 5) สัมภาษณ์นักท่องเที่ยวสูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์ชาวไทยที่เข้าพักเกสท์เฮ้าส์ กรณีศึกษาทั้ง 4 แห่ง
จ�านวน 10 คน แบ่งเป็น บ้านๆ น่านๆ ห้องสมุด แอนด์ เกสท์โฮม 2 คน เฮือนน่านนิทราเกสท์เฮ้าส์ 2 คน เฮือนช้างเผือก
เกสท์เฮ้าส์ 4 คนและเฮือนม่วนใจเกสท์เฮ้าส์ 2 คน ต้งแต่วันท่ 4-11 มกราคม ใช้เวลาในการสัมภาษณ์คนละประมาณ 30 นาท ี
ั
ี
5.4 การตรวจสอบข้อมูล
ผู้วิจัยตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนน�าไปวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการตรวจข้อมูลแบบสามเส้า ดังนี้
5.4.1 การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลของเกสท์เฮ้าส์ กรณีศึกษา ด้วยการสัมภาษณ์
ผู้ประกอบการเกสท์เฮ้าส์ สอบถามพนักงานในเกสท์เฮ้าส์ และสัมภาษณ์นักท่องเท่ยวสูงวัยยุคเบบ้บูมเมอร์ ด้วยค�าถาม
ี
ี
เดียวกัน พบว่าค�าตอบเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ี
ี
ู
5.4.2 การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธรวบรวมข้อมล ผ้วจัยได้เก็บข้อมลเก่ยวกบสภาพทางกายภาพภายนอก
ั
ิ
ู
ู
ื
ี
ี
ี
และภายในรวมท้งข้อมูลท่พักเพ่อการท่องเท่ยวท่สามารถรองรับนักท่องเท่ยวสูงวัย ข้อมูลด้านการใช้งานและความคิดเห็น
ั
ี
เกี่ยวกับเกสท์เฮ้าส์ ด้วยวิธีการรวบรวมข้อมูลต่างๆ กัน ทั้งจากสื่ออิเล็กทรอนิคส์ การส�ารวจสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับ
ผู้สูงวัยในเกสท์เฮ้าส์และการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวสูงวัยชาวไทยที่เข้าพัก
5.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงคุณภาพถูกน�ามาวิเคราะห์ด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา ตามหัวข้อดังนี้ 1) ข้อมูลด้านสถานที่เกสท์เฮ้าส์
กรณีศึกษา 2) ความพร้อมในการเป็นที่พักส�าหรับผู้สูงวัย 3) ข้อมูลนักท่องเที่ยวสูงวัยที่เข้าพักเกสท์เฮ้าส์ ย่านท่องเที่ยวทาง
ื
วัฒนธรรม อ�าเภอเมือง จังหวัดน่าน ความคิดเห็นและการปรับตัวของผู้ประกอบการเพ่อรองรับนักท่องเท่ยวสูงวัย ความคิดเห็น
ี
เก่ยวกับการออกแบบภายในเกสท์เฮ้าส์ท่เหมาะสมกับนักท่องเท่ยวสูงวัย และความคิดเห็นของผู้ประกอบและนักท่องเท่ยว
ี
ี
ี
ี
สูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์เกี่ยวกับองค์ประกอบเกสท์เฮ้าส์ที่สื่อบรรยากาศความเป็นจังหวัดน่าน
6. สรุปผลการวิจัย
6.1 ข้อมูลด้านสถานที่เกสท์เฮ้าส์กรณีศึกษา มี 4 แห่ง คือ 1) บ้านๆ น่านๆ ห้องสมุด แอนด์ เกสท์โฮม
ดัดแปลงจากบ้านพักอาศัยเดิมน�ามาท�าเป็นเกสท์เฮ้าส์ มีลักษณะเป็นบ้านไม้สองชั้น ชั้นที่ 1 เป็นที่พักของเจ้าของและชั้น 2
เปิดเป็นเกสท์เฮ้าส์ ขนาด 4 ห้อง รองรับนักท่องเที่ยวได้ 9 คน มีส่วนห้องสมุดที่เป็นพื้นที่สาธารณะให้คนในชุมชนและ
ี
ั
ั
นักท่องเท่ยวเข้ามาใช้บริการได้ 2) เฮือนน่านนิทราเกสท์เฮ้าส์ ต้งอยู่กลางซอยเล็กๆ ในตัวเมืองน่าน มีลักษณะเป็นบ้านไม้สองช้น
เป็นสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของน่าน อายุเกือบร้อยปี น�ามาปรับปรุงต่อเติมใหม่ บานหน้าต่าง ประตู บันได เป็นงานไม้สล่า
ชาวเหนือ ที่พักมี 10 ห้อง รองรับนักท่องเที่ยวได้ 22 คน 3) เฮือนช้างเผือกเกสท์เฮ้าส์ เป็นเกสท์เฮ้าส์ที่ท�าการต่อเติม
ี
และปรับปรุงจากเรือนไม้เก่าของเจ้าของ ตกแต่งในสไตล์ร่วมสมัย เน้นตกแต่งด้วยของสะสมของเจ้าของบ้าน ท่พักมี 12 ห้อง
Vol. 8 110