Page 149 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 149

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







                          สรุปการวิเคราะห์หลักการใช้งานของอุปกรณ์ดังกล่าวเพ่อช่วยลดภาระการจดจ�าและนับจ�านวน เช่น การจัดแบ่ง
                                                                   ื
               กลุ่มตารางเพ่อลดการซ้อนทับกันของเข็ม การระบุกลุ่มตัวเลขบนอุปกรณ์เพ่อช่วยแสดงจ�านวน การบันทึกข้อมูลก่อนการเปิด
                         ื
                                                                        ื
               ใช้งานผ้าก๊อซเพื่อการตรวจสอบจ�านวนหลังการผ้าตัดเสร็จส้น  เป็นต้น  แต่พบว่ามีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการใช้งาน
                                                             ิ
                                                  �
               อุปกรณ์ได้ เช่น การแสกนบาร์โค้ดบนผ้าก๊อซซ้าท�าให้การบันทึกข้อมูลเกินหรือการปักพักเข็มบนอุปกรณ์ไม่เป็นระเบียบท�าให้
               การยืนยันจ�านวนผิดพลาด ถือเป็นความผิดพลาดของมนุษย์จากความไม่ตั้งใจหรือพลั้งเผลอ
                      3.4  การป้องกันความผิดพลาดของมนุษย์

                                                                                               ั
                                      ิ
                          น้องนุช ภูมิสนธ์ (2559) อธิบายว่าการป้องกันความผิดพลาดของมนุษย์ภายในโรงพยาบาลน้นต้องศึกษาปัจจัย
               มนุษย์ (Human Factor) เพื่อน�ามาออกแบบวิธีการท�างานให้มีประสิทธิภาพตามกลไกในการด�าเนินกิจกรรมของมนุษย์ คือ
               1) การรับรู้ข้อมูล (Perception) ถ้ามีส่งรบกวนหรือการรับรู้ไม่ชัดเจน เช่น เสียงไม่ดังพอ แสงสว่างไม่เพียงพอ ท�าให้การรับร ู้
                                            ิ
               ข้อมูลคาดเคล่อน  เป็นต้น  2)  การจดจ�าข้อมูล  (Memory)  การท�างานหลายอย่างพร้อมกันส่งผลให้จดจ�าข้อมูลผิดพลาด
                          ื
               และ 3) การน�าเอาข้อมูลความจ�ามาใช้ (Working Memory) หากถูกกดดันด้วยสภาพแวดล้อมภายนอกภายนอกหรืออารมณ์

                                        ื
                                                                                     ั
               มีโอกาสท�าให้ตัดสินใจผิดพลาดเน่องจากความสับสนเป็นการยากท่จะดึงเอาข้อมูลมาใช้ได้ ดังน้น กลุ่มผู้ร่วมงาน (Team Work)
                                                                ี
               ควรมีการสื่อสารที่ดี (Communication) มีความเข้าใจที่ตรงกันภายใน จึงสามารถด�าเนินการปฏิบัติงานส�าเร็จลุล่วงได้ โดยมี
               แนวทางในการป้องกันความผิดพลาดโดยค�านึงถึงลักษณะของมนุษย์ มีดังนี้
                          1. ลดการพึ่งพาความจ�า  (Reducing  Reliance  on  Memory)  คือ  การออกแบบระบบงานเพื่อลดการพึ่งพา
                                                                ์
                                                                                                      ้
                                                                              ่
                                                                             ้
                                                                                     ้
                                                 ่
                                                                                                 ่
               การจดจ�าระยะสั้น (Short-Term Memory) เชน การท�าสัญลักษณสีส�าหรับของที่ใชคูกันเพื่อปองกันการสลับคู การใชรายการ
               ตรวจสอบ (Checklist) เป็นต้น
                          2. ปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูล  (Improving  Information  Access)  คือ  การจัดให้มีข้อมูลในเวลาที่ต้องการและ
               ในสถานที่ใช้งานและสร้างแบบบันทึกข้อมูลที่สามารถติดตามการปฏิบัติงานได้ทุกขั้นตอน
                          3. ลดโอกาสการเกิดความผิดพลาด (Decreasing Error Opportunities) คือ การก�าหนดโครงสร้างการปฏิบัติงาน
               ที่เป็นข้อมูลเฉพาะ เช่น การก�าหนดข้อมูลค�าสั่งยาของแพทย์ผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันการสั่งยาเกินขนาดหรือการสั่งยา
               ที่ผู้ป่วยแพ้ เป็นต้น
                          4. ลดความซับซ้อน  (Simplification)  คือ  การแก้ลดความซับซ้อนของกระบวนการปฏิบัติงานท่ท�าให้เกิด
                                                                                                     ี
               ความคลาดเคลื่อนหรือความเข้าใจผิดระหว่างผู้ปฏิบัติน�าไปสู่ความผิดพลาด

                      3.5  การวิเคราะห์อาการขัดข้องและผลกระทบ (Failure Mode and Effect Analysis: FMEA)

                                                                                                   ื
                                ิ
                          กิตติศักด์ พลอยพานิชเจริญ (2551) อธิบายถึงการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบมีจุดมุ่งหมายเพ่อ1) ประเมิน
                                                                                       ิ
                                                                                               ื
                                                                                                      ิ
                                                                                     ี
                                                                              ิ
                                                                      ้
               แนวโน้มของการเกิดข้อบกพร่องและผลกระทบในกระบวนการ  2)  บ่งชถึงการปฏบัติการท่เกดปัญหาเพ่อก�าจัดท้งหรือลด
                                                                      ี
                                                                                          ื
               โอกาสการเกิดข้อบกพร่อง  โดยเร่มจากการศึกษาปัจจัยหรือสาเหตุท่แท้จริงน�าไปสู่การออกแบบเพ่อป้องกันความผิดพลาด
                                                                   ี
                                         ิ
               ประกอบด้วย กระบวนการท�างาน (Process) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือหน้าที่การปฏิบัติงานในขั้นตอนดังกล่าว แล้วบ่งชี้สิ่งที่
               จะมีโอกาสเกิดความบกพร่อง  (Failure  Mode)  และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น  (Failure  Effect)  เพื่อก�าหนดแนวทางป้องกัน
               และ 3) ด�าเนินการทั้งหมดในรูปแบบเอกสารตารางการวิเคราะห์ น�าไปสู่การหาวิธีป้องกันความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
               4. วิธีการศึกษา
                      4.1  เก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยด�าเนินงานวิจัยโดยได้รับความอนุเคราะห์ข้อมูลจากโรงพยาบาลรามาธิบดี แผนกศัลยกรรม
               เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2558 ติดต่อและประสานงานเพื่อขอความร่วมมือเก็บข้อมูลเบื้องต้น (Pilot Study) ในรูปแบบวิจัยเชิง
               คุณภาพ  (Qualitative  Research)  ลงพื้นที่สังเกตการปฏิบัติงานผ่าตัดเพื่อศึกษาวิธีการยืนยันจ�านวนเข็มและสัมภาษณ์กับ
                                                                                                    ื
               พยาบาลผ่าตัดผู้ท�าหน้าท่ยืนยันจ�านวนเข็มโดยการจดบันทึกและถ่ายภาพ ค�านึงถึงการพิทักษ์สิทธิของผู้ให้ข้อมูล เม่อผู้ให้ข้อมูล
                                  ี



               Vol.  8                                      144
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154