Page 146 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 146
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
1. บทน�า
การออกแบบอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ (Medical Device) เป็นสิ่งส�าคัญต่อการรักษาผู้ป่วย ช่วยให้การ
รักษาให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น (สุรินทร์ บ�ารุงผล. 2553) เพิ่มความแม่นย�าเพื่อวินิจฉัยโรค ควบคุมการเกิดโรค ตลอดจน
การป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผ่าตัดที่มีภาวะความเสี่ยงในการรักษาสูง บุคลากร
ในการผ่าตัดจึงให้ความส�าคัญในการออกแบบอุปกรณ์เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้
้
ู
่
ื
่
่
่
ั
่
่
ี
ี
็
ั
�
ี
ี
ู
้
�
ั
่
่
ั
่
การผาตดใหญมความเสยงตอผปวยเนองจากเปนการผาตดตาแหนงของอวยวะทสาคญและใชเวลานาน (เรณ อาจ-สาล.
2553) ศัลยแพทย์จะเปิดใช้งานเข็มเพ่อเย็บปิดบาดแผลตามประเภทเน้อเย่ออวัยวะและขนาดความลึกกว้างของบาดแผล
ื
ื
ื
มีจ�านวนตั้งแต่ 5 ถึง 30 เล่มขึ้นไป เข็มเย็บแผลบางประเภทมีขนาดเล็ก มองเห็นได้ยากหรือมองไม่เห็นแม้ใช้การถ่ายภาพ
รังสี (X-ray) การใช้เข็มเย็บแผลจานวนมากจึงเส่ยงต่อการสูญหายในบริเวณการปฏิบัติการผ่าตัดหรือหากตกค้างภายใน
ี
�
ร่างกายผ้ป่วยหลังการเย็บปิดบาดแผลส่งผลให้บาดแผลประสานติดกันได้ช้า มีอาการปวดบริเวณบาดแผลหรือภาวะแทรกซ้อน
ู
ึ
�
ี
รุนแรงตามมาถึงข้นเสียชีวิต (รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล. 2555) จึงต้องยืนยันจานวนการใช้งานเข็มเพ่อลดความเส่ยงการตกค้าง
ื
ที่อาจเกิดขึ้นก่อนผ่าตัดเสร็จสิ้น
การยืนยันจานวนเข็มเพ่อป้องกันการตกค้างภายในร่างกายผู้ป่วยทาได้โดยการนับจานวนเข็มและการบันทึกจานวน
ื
�
�
�
�
�
ี
ลงบนเอกสาร (Surgical Count) ผู้ทาหน้าท่ดังกล่าว คือ พยาบาลผ่าตัด (Perioperative Nurse) โดยแบ่งหน้าท่ขณะปฏิบัติงาน
ี
ประกอบด้วย พยาบาลส่งเครื่องมือ (Scrub Nurse) คือ ผู้ท�าหน้าที่ส่งเครื่องมือผ่าตัดจากศัลยแพทย์ทุกครั้งหลังการใช้งาน
เสร็จสิ้น และพยาบาลช่วยทั่วไป (Circulation Nurse) คือ ผู้อ�านวยความสะดวกขณะการผ่าตัด เมื่อพยาบาลผ่าตัดยืนยัน
จานวนเข็มท่เปิดใช้งานได้ถูกต้อง ศัลยแพทย์จึงจะสามารถเย็บปิดบาดแผลช้นนอกก่อนนาผู้ป่วยไปพักฟื้นในลาดับต่อไป (รณรัฐ
�
�
ั
�
ี
ื
�
ั
สุวิกะปกรณ์กุล. 2555) หากนับจานวนเข็มไม่ครบตามการเปิดใช้งาน พยาบาลผ่าตัดจะต้องตรวจนับจานวนอีกคร้งเพ่อป้องกัน
�
ปัญหาการตกค้างของสิ่งแปลกปลอมในร่างกายผู้ป่วย (สมาคมพยาบาลห้องผ่าตัด. 2559)
ิ
รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล (2555) กล่าวถึงการเกิดปัญหาตกค้างของส่งแปลกปลอมภายในร่างกายผู้ป่วยหลังการผ่าตัด
พบว่าเกิดจากความผิดพลาดโดยมนุษย์ (Human Error) หมายถึง การกระท�าโดยไม่ได้ตั้งใจ (Unintended Action) ถือเป็น
ธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ (Meister. 1966) แม้ผู้ปฏิบัติงานผ่าตัดจะมีทักษะความช�านาญ (Skill-Based
�
Behavior) จากการปฏิบัติงานบ่อยคร้งและมีประสบการณ์จนสามารถลาดับข้นตอนการปฏิบัติงานได้ (สถาบันพัฒนาและ
ั
ั
รับรองคุณภาพโรงพยาบาล. 2558) หากผู้ปฏิบัติงานละเลยหรือปฏิบัติเพื่อการยืนยันไม่ถูกต้องอาจส่งผลท�าให้เกิดอันตราย
่
ั
้
่
ุ
ิ
้
้
่
ตอผปวยและการฟองรองตามมา ในตางประเทศพบการเรยกรองคาเสยหายสาเหตจากพบสงแปลกปลอมตกคางในแผลผาตด
้
่
่
ู
่
ี
้
ี
เช่น เครื่องมือผ่าตัด ผ้าก๊อซ และของมีคมประเภทเข็มเย็บแผล เป็นต้น (เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ. 2559)
ี
�
�
ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาวิธีการยืนยันจานวนเข็มและปัจจัยท่ส่งผลกระทบต่อการยืนยันจานวนเข็มผิดพลาดในการ
ปฏิบัติการผ่าตัด และน�าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อพิจารณาในการออกแบบอุปกรณ์เพื่อยืนยันจ�านวนเข็มในล�าดับต่อไป
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 ศึกษาการยืนยันจ�านวนเข็มเย็บแผลขณะปฏิบัติการผ่าตัด
2.2 ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยืนยันจ�านวนเข็มผิดพลาดขณะปฏิบัติการผ่าตัด
�
2.3 สรุปผลข้อพิจารณาในการออกแบบอุปกรณ์พักเข็มเพ่อป้องกันความผิดพลาดการยืนยันจานวนเข็มขณะผ่าตัด
ื
3. ทบทวนวรรณกรรมและหลักการที่เกี่ยวข้อง
ผู้วิจัยได้ทบทวนวรรณกรรมและหลักการท่เก่ยวข้องกับการตรวจนับจานวนเข็มผิดพลาดของมนุษย์มีรายละเอียดดังน ้ ี
ี
�
ี
3.1 มาตรฐานการป้องกันความผิดพลาดในการผ่าตัดที่เป็นสากล
การป้องกันความผิดพลาดในการผ่าตัดไม่ใช่ความรับผิดชอบคนหนึ่งคนใด ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
่
ทุกทานควรจึงพิจารณาเพื่อแก้ไขปัญหาทั้งระบบการปฏิบัติงาน (Gibbs. 2011) เมื่อมีการเปิดใช้งานเครื่องมือแพทย์หรือเข็ม
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
141 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.