Page 154 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 154
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
6.3 ข้อพิจารณาในการออกแบบอุปกรณ์พักเข็มเพื่อป้องกันการยืนยันจ�านวนเข็มผิดพลาดโดยมนุษย์
�
ี
จากการทบทวนวรรณกรรมและการวิเคราะห์ปัจจัยท่ส่งผลต่อการยืนยันจานวนเข็มผิดพลาดสามารถสรุป
ข้อพิจารณาในการออกแบบเพื่อป้องกันการยืนยันจ�านวนเข็มผิดพลาดขณะปฏิบัติงานผ่าตัด ดังนี้
6.3.1 การจ�าแนกข้อมูลเพื่อลดกระบวนการจดจ�า การใช้งานเข็มจ�านวนมากและเข็มมีความคล้ายคลึงกันของ
ั
ี
�
�
ู
รูปทรง สีของวัสดุเย็บท่ติดปลายเข็ม ส่งผลกระทบต่อการจดจาระยะส้นทาให้เกิดความสับสนของข้อมลในการแปลความ
จ�านวนเข็มที่อยู่บนอุปกรณ์
้
ี
�
ื
�
6.3.2 การทวนซาข้อมูล การยืนยันจานวนเข็มและรับทราบข้อมูลท่ตรงกันระหว่างพยาบาลผ่าตัดเม่อผลัด
่
ี
ั
ื
่
ื
ู
ื
ื
เปลยนเวรถอ เป็นการยนยันความถกต้องก่อนการส่งต่องานหรอเมอนบทวนซาจานวนเขมก่อนการเยบปิดบาดแผลผู้ป่วย
�
็
็
�
้
เสร็จสิ้น
6.3.3 การสื่อสารจ�านวนระหว่างผู้นับและผู้บันทึก การตรวจนับจ�านวนเข็มเป็นการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่าง
�
ผู้นับจานวนเข็มและผู้บันทึกจานวน อุปกรณ์จึงต้องทาหน้าท่แสดงจานวนการใช้งานผ่านการมองเห็นทาให้รับรู้ข้อมูลการใช้งาน
ี
�
�
�
�
เข็มได้แม่นย�า วิธีการแสดงจ�านวนที่ท�าให้พยาบาลผ่าตัดเข้าใจตรงกันและสอดคล้องกับประสบการณ์การปฏิบัติงาน
6.3.4 ขนาดอุปกรณ์มีความเหมาะสมกับพื้นการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานผ่าตัดต้องใช้ความต่อเนื่องแม่นย�า
�
�
เพ่อการรับส่งเคร่องมือและตรวจนับจานวนจึงควรคานึงถึงขนาดท่เหมาะสมต่อการพักเข็มผ่าตัดและไม่ควรรบกวนการใช้งาน
ี
ื
ื
อุปกรณ์หรือเครื่องมือผ่าตัดอื่น
6.3.5 ตาแหน่งของการติดต้งสอดคล้องกับพฤติกรรมของพยาบาลผ่าตัด การรับและส่งเคร่องมือจับเข็มต้องใช้
ื
ั
�
ื
ิ
�
ื
ื
็
ความเรวรวดและความแม่นยาในขณะปฏบัติงานผ่าตัด ควรคานึงถึงองศาการเคล่อนไหวของร่างกาย ระยะการรับส่งเคร่องมอ
�
และต�าแหน่งการยืนของผู้ปฏิบัติงาน
6.3.6 ข้อพิจารณาอื่นเพื่อการออกแบบอุปกรณ์ ประกอบด้วย
1. นาหนักของอุปกรณ์ พยาบาลส่งเคร่องมือต้องออกแรงปักเข็มบนตัวอุปกรณ์ ซ่งต้องกระทาอย่าง
�
้
�
ื
ึ
ื
ื
ื
ื
ื
รวดเร็วเพ่อการส่งและรับเคร่องมืออย่างต่อเน่อง ประกอบกับขณะปฏิบัติงานพยาบาลส่งเคร่องมือต้องสวมถุงมือป้องกันเช้อโรค
�
ซ่งมีความล่นความหนาและการใช้เคร่องมือจับเข็มขณะปักพัก ทาให้การควบคุมแรงกดของมือหนักเบาไม่เท่ากัน อุปกรณ์
ึ
ื
ื
ควรมีน�้าหนักเพียงพอต่อการยึดติดกับโต๊ะพักเครื่องมืออย่างมั่นคงช่วยให้เข็มเลื่อนหลุดและอุปกรณ์ไม่เลื่อนตกลงมา
2. วัสดุของอุปกรณ์ เม่อปักเข็มต้องสามารถรองรับการรองรับคุณลักษณะทางกายภาพของเข็มหรือเข็ม
ื
่
็
จมลงไปในวสด เมอดึงเขมออกตองไมเกดการหลดตดออกมาของเศษวสดกบปลายเขมเพอการใชงานทตอเนอง สามารถผาน
ื
่
ื
่
้
่
ี
่
ิ
ื
ั
ุ
่
้
ิ
ุ
็
ุ
ั
ั
่
กรรมวิธีปลอดเชื้อรวมไปถึงการท�าลายเชื้อทั้งก่อนและหลังการผ่าตัด
7. สรุปผลการศึกษา
7.1 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการยืนยันจ�านวนเข็มผิดพลาด ได้แก่
1. การถูกกระตุ้นทางประสาทสัมผัสมากเกินไป (Sensory Overload) จากการปฏิบัติงานหลายหน้าที่ในเวลา
เดียวกันส่งผลให้ประสิทธิภาพการรับรู้ลดลง
2. การถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อมภายนอกขณะปฏิบัติงานผ่าตัด (Distraction)
�
3. ความยากในการจาแนกลักษณะของเข็มเย็บแผลผ่าตัด หากเข็มบนอุปกรณ์บดบังกันหรือปักพักอย่างไม่เป็น
ระเบียบ ลักษณะของเข็มความคล้ายคลึงกัน และสีของวัสดุเย็บท�าให้เกิดความสับสนในการมองเห็นได้
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
149 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.