Page 24 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 24
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
ั
�
ตารางที่ 2 ข้นตอนที่มีปัญหามากท่สุดในการดาเนินการในการจัดทาผังเมืองรวมตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
�
และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (กระบวนงาน 18 ขั้นตอน)
ขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส�าเร็จในการประกาศใช้ผังเมืองรวม ความถี่ ร้อยละ
ขั้นตอนที่ 1 การส�ารวจและก�าหนดเขตผัง 6 2.9
ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และจัดท�าผังร่าง 13 6.4
ขั้นตอนที่ 3 กรมโยธาธิการและผังเมืองพิจารณาให้ความเห็นผังร่าง 4 2.0
ขั้นตอนที่ 4 ประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 50 24.5
ขั้นตอนที่ 5 ประชุมคณะกรรมการผังเมือง 23 11.3
ขั้นตอนที่ 6 ปิดประกาศพร้อมข้อก�าหนด 90 วัน 20 9.8
ขั้นตอนที่ 7 รวบรวม ตรวจสอบ พิจารณาค�าร้อง 48 23.5
ขั้นตอนที่ 8 จัดท�าร่างกฎกระทรวงและเอกสารที่เกี่ยวข้องเสนอกระทรวงมหาดไทย 2 1.0
ขั้นตอนที่ 9 เสนอคณะกรรมการร่างกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย 2 1.0
ขั้นตอนที่ 10 ส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา 10 4.9
ขั้นตอนที่ 11 ส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกานัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5 2.5
ขั้นตอนที่ 12 ส่งกฎกระทรวงไปประกาศราชกิจจานุเบกษา 2 1.0
มีความส�าคัญทุกขั้นตอน 6 2.9
Missing 13 6.4
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ตารางที่ 3 ผู้มีบทบาทสาคัญท่ทาให้การวางผังประสบความสาเร็จมากท่สุดในการดาเนินการในการจัดทาผังเมืองรวมตาม
�
�
ี
�
�
�
ี
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (กระบวนงาน 18 ขั้นตอน)
ผู้ที่มีบทบาท ความถี่ ค่าเฉลี่ย
ผู้บริหาร 9 4.4
นักผังเมือง 34 16.7
วิศวกรโยธา 1 0.5
ประชาชน 92 45.1
ท้องถิ่น 31 15.2
นักวิเคราะห์ผังเมือง 3 1.5
นิติกร 1 0.5
อื่นๆ 30 14.7
ทุกข้อมีบทบาทส�าคัญ 2 1.0
Missing 1 0.5
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
19 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.