Page 22 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 22

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                                 �
                           ธงชัย สันติวงษ์ (2526, หน้า 198) กล่าวว่า นิยามคาว่าประสิทธิภาพ หมายถึงกิจกรรมทางด้านการบริหารบุคคล
                     ี
                                                    �
                                    ึ
                ท่ได้เก่ยวข้องกับวิธีการ ซ่งหน่วยงานพยายามกาหนดให้ทราบแน่ ชัดว่าพนักงานของตนสามารถปฏิบัติงานได้มีประสิทธิภาพ
                  ี
                มากน้อยเพียงใด สมพงษ์ เกษมสิน (2521 อ้างอิงใน คฑาวุธ พรหมายน, 2545, หน้า 14) ได้กล่าวถึง แนวคิดของ Haning
                Emerson ที่เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับหลักการท�างานให้มีประสิทธิภาพในหนังสือ “The Twelve Principles of Efficiency”
                ซึ่งได้รับการยกย่อง  และกล่าวขานกันมาก  หลัก  12  ประการมีดังนี้  1)  ท�าความเข้าใจและก�าหนดแนวคิดในการท�างานให้
                กระจ่าง  2)  ใช้หลักสามัญส�านึกในการพิจารณาความน่าจะเป็นไปได้ของงาน  3)  ค�าปรึกษาแนะน�าต้องสมบูรณ์และถูกต้อง
                                      �
                4) รักษาระเบียบวินัยในการทางาน 5) ปฏิบัติงานด้วยความยุติธรรม 6) การทางานต้องเช่อถือได้มีความฉับพลัน มีสมรรถภาพ
                                                                          �
                                                                                  ื
                และมีการลงทะเบียน ไว้เป็นหลักฐาน 7) งานควรมีลักษณะแจ้งให้ทราบถึงการด�าเนินงานอย่างทั่วถึง 8) งานเสร็จทันเวลา
                                                                                                         ื
                                           �
                                                                                           ี
                9)  ผลงานได้มาตรฐาน  10)  การดาเนินงานสามารถยึดเป็นมาตรฐานได้  11)  กาหนดมาตรฐานท่สามารถใช้เป็นเคร่องมือ
                                                                              �
                ในการแก่สอนงานได้และ 12) ให้บ�าเหน็จแก่งานที่ดี
                3. ระเบียบวิธีวิจัย

                       3.1  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

                                       ู
                                                                                                  ่
                                 ู
                                                                 ี
                                                                 ่
                                                                                                   ี
                                                              ู
                                        ิ
                                                                                                ี
                                                                                                ่
                           1. ข้อมลปฐมภม  (Primary  Data)  เป็นข้อมลทได้จากการใช้แบบสอบถามจากเจ้าหน้าททเกยวข้องในการ
                                                                                                  ี
                                                                                                   ่
                ด�าเนินการเป็นการสอบถามความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการด�าเนินการ และจัดท�าผังออกเป็นกฎกระทรวง
                           2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ หนังสือ
                เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
                       3.2  ประชากรที่ท�าการศึกษา
                           ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการเก็บแบบสอบถาม ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของกรมโยธาธิการและผังเมือง และ
                เจ้าหน้าที่ของส�านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด โดยที่โครงสร้างของแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
                           ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
                                             �
                           ตอนท 2 ข้นตอนการดาเนินการในการจัดทาผังเมืองรวมตามพระราชบัญญัติการผังเมือง  พ.ศ.  2518  และ
                                                             �
                                ่
                                    ั
                                ี
                ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (กระบวนงาน 18 ขั้นตอน)
                                ่
                                ี
                                                                         �
                           ตอนท 3 ข้อมูลเก่ยวกับระดับปฏิบัติและระดับปัญหาในการดาเนินงานของปัจจัยท่ส่งผลต่อความสาเร็จในการ
                                                                                         ี
                                         ี
                                                                                                     �
                จัดท�าผังออกเป็นกฎกระทรวง
                           ตอนที่ 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
                           ทั้งนี้การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามจะใช้โปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ  SPSS/PC  (Statistical  Package
                for Social Sciences/Personal Computer) ในการแปลความหมายของข้อมูล
                4. ผลการศึกษา
                       4.1  ลักษณะของประชากร

                           ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย  ผู้ตอบแบบสอบถาม
                เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 53.9 และเพศชายคิดเป็นร้อยละ 45.6 โดยมีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.1 ส่วนใหญ่
                มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 55.9 โดยที่สาขาวิชาที่จบการศึกษาทางด้านผังเมืองโดยตรงอยู่เป็นล�าดับ
                ที่ 2 ส่วนล�าดับที่ 1 จบการศึกษาทางสาขาวิชาอื่นๆ โดยมีต�าแหน่งงานเป็นนักวิเคราะห์ผังเมือง คิดเป็นร้อยละ 31.9 และ
                ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การท�างานน้อยกว่า  5  ปี  คิดเป็นร้อยละ  31.9  และอยู่ภายใต้สังกัดของส�านักผังเมืองรวม  คิดเป็น
                ร้อยละ 12.7


                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                              17    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27