Page 19 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 19
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
2.2 การวางและจัดท�าผังเมืองรวม
ี
ี
ี
ส�าหรับองค์กรท่เก่ยวข้องในการด�าเนินการวางและจัดท�าผังเมืองรวมท่ก�าหนดในพระราชบัญญัติการผังเมือง
พ.ศ. 2518 (มาตรา 4) บัญญัติให้มีอ�านาจหน้าที่ในการวางและจัดท�าผังเมืองรวม คือ
1. กรมโยธาธิการและผังเมือง
2. “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า 1) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ส�าหรับในเขตองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด 2) นายกเทศมนตรี ส�าหรับในเขตเทศบาล 3) นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ส�าหรับในเขตองค์การบริหาร
ส่วนต�าบล 4) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ส�าหรับในเขตกรุงเทพมหานคร 5) นายกเมืองพัทยา ส�าหรับในเขตเมืองพัทยา
ี
ื
ิ
ิ
ั
ิ
และ 6) ผู้บริหารท้องถ่นหรือหัวหน้าคณะผู้บริหารท้องถ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นอ่นท่มีกฎหมายจัดต้ง ส�าหรับในเขต
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น
การบังคับใช้ผังเมืองรวม มาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ไม่มีการก�าหนด
อายุใช้บังคับ การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระท�าโดยกฎกระทรวง และต้องมีสาระส�าคัญตามมาตรา 17 ให้กรมโยธาธิการและ
ผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี จัดท�ารายงานการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์ และสิ่งแวดล้อม
ั
ิ
่
ี
ั
ั
ั
ี
่
ื
การใช้บังคบผังเมืองรวมตามระยะเวลาทคณะกรรมการก�าหนดแต่ไม่เกน 5 ปี นบแต่วนทกฎกระทรวงให้ใช้บังคบผังเมอง
้
ิ
่
ี
ั
็
่
ิ
้
ั
ื
ั
ี
ิ
ื
ั
้
รวมใชบงคับหรอนับแต่วนทคณะกรรมการผงเมองพจารณา รายงานการประเมนผลครงทผ่านมาเสรจส้น แลวเสนอคณะกรรมการ
ผังเมืองพิจารณา หากคณะกรรมการผังเมืองเห็นว่าสภาพการณ์และส่งแวดล้อมมีการเปล่ยนแปลงไปในสาระส�าคัญท�าให้
ี
ิ
ผังเมืองรวมน้นไม่เหมาะสมท่จะรองรับการรับพัฒนาหรือด�ารงรักษาเมืองต่อไปหรือจ�าเป็นต้องเปล่ยนแปลงแก้ไข เพ่อประโยชน์
ื
ี
ี
ั
ในการพัฒนาเมืองท้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่งแวดล้อม การคมนาคมและขนส่ง การป้องกันการเกิดภัยพิบัติ ความม่นคง
ิ
ั
ั
ของประเทศ และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการ ผังเมือง โดยให้ค�านึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
2.3 กระบวนการวางและจัดท�าผังเมืองรวม 18 ขั้นตอน
1. ขั้นตอนการส�ารวจ ก�าหนดเขตผัง จะเป็นการส�ารวจพ้นท่ท่จะวางผังเมืองรวมเป็นการเบ้องต้น และด�าเนินการ
ี
ี
ื
ื
ก�าหนดเขตผังเมือง
2. ขั้นตอนการวิเคราะห์และการวางผังร่าง ผู้รับผิดชอบในการวางผังจะด�าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ เช่น
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านกายภาพ เป็นต้น
3. ข้นตอนการประชุมคณะกรรมการพิจารณาด้านผังเมืองและประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาประสาน
ั
งานวางและจัดท�าผังเมือง ผู้รับผิดชอบในการวางผังร่างที่จัดท�ารูปเล่ม เข้าสู่กระบวนการพิจารณาภายในของกรมโยธาธิการ
และผังเมือง
ี
ึ
ั
4. ข้นตอนประชุมคณะท่ปรึกษาผังเมืองรวม และประชุมรับฟังข้อคิดเห็นของประชาชน เป็นส่วนหน่งของ
ี
ี
กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย และจัดให้มีการประชุมประชาชนในท้องท่ท่จะวางผังเมืองรวมอย่างน้อย
หนึ่งครั้ง
ื
ั
5. ข้นตอนประชุมคณะกรรมการผังเมือง เม่อผู้วางผังเมืองรวมได้ประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมแล้ว ก็จะน�าค�าปรึกษา ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อประกอบการพิจารณาปรับปรุง
ผังเมืองรวมฉบับร่าง แล้วน�าเสนอคณะกรรมการผังเมือง เพื่อพิจารณาให้เห็นชอบ
ื
6. ข้นตอนการปิดประกาศ 90 วัน เม่อคณะกรรมการผังเมืองได้ให้ความเห็นชอบผังเมืองรวมฉบับร่างแล้ว
ั
ผู้วางและจัดท�าผังเมืองรวมต้องน�าผังเมืองรวมฉบับร่างดังกล่าวไปปิดประกาศไม่น้อยกว่า 90 วัน ตามสถานที่ที่ก�าหนด และ
เชิญชวนให้ผู้มีส่วนได้เสียไปตรวจดูแผนผังและข้อก�าหนดผังเมืองรวม
Vol. 8 14