Page 71 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 71

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







               ผู้วิจัยเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างน้อย 1 กิจกรรม เช่นเดียวกับกิจกรรมงานวันสร้างเมืองฯ (8 มีนาคม) แต่ด้วยเหตุผลเดียวกันกับ
               ข้อ 5.2 ส�าหรับชุมชนแห่งนี้ยังมีกิจกรรมในวันส�าคัญ เทศกาล วัฒนธรรมประเพณี ที่ยังสามารถปลุกความมีชีวิตชีวาให้กับ
                                                                                                 ี
                                                                     ี
               ชุมชนและฝ่ายเทศบาลฯ  หันมาร่วมมือกันจัดงานในฐานะเจ้าของพ้นท่ร่วมกัน  ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมหลักท่มีอยู่เดิม  หรือ
                                                                   ื
               กิจกรรมเสริมซึ่งคิดสร้างสรรค์ ต่อยอดขึ้นมาใหม่อย่างที่ทางโครงการได้ทดลองไปแล้ว
                      5.5  ผู้คน

                                                                       ี
                                                                     ื
                                                                                                  ึ
                          การมีส่วนร่วมของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มคน โดยมีคนในพ้นท่เข้าร่วมเป็นจ�านวน 50 เปอร์เซ็นต์ข้นไปอย่างน้อย
                          ั
                                                              ื
                  ั
                                                    ื
                                                                ี
                                                                                               ึ
               1 คร้ง ในการต้งเป้าหมายหรือมีข้อตกลงร่วมกันเพ่อการพัฒนาพ้นท่ ดังผลจากการประชุมวิสัยทัศน์ท่เกิดข้น ซ่งจากกระบวนการ
                                                                                        ี
                                                                                            ึ
               ในช่วงนี้ทั้งหมด ไม่ว่าจะผ่านการประชุม ท�ากิจกรรม หรือใช้แบบสอบถาม จะเห็นว่า ได้รับการตอบรับเป็นจ�านวนเกินกว่า
               กึ่งหนึ่งของประชากรและสามารถผลักดันการมีส่วนร่วมได้ถึงระดับที่  3  คือ  พิจารณาสร้างทางเลือกของการพัฒนา  จนเกิด
                                                                           ี
                                                      ึ
                                                  ึ
               ร่างแผนงานโครงการอนุรักษ์ถนนปากแพรกข้น  ซ่งความต้องการของชุมชนท่รวบรวมได้ส่วนใหญ่เกือบ  100  เปอร์เซ็นต์
               มีความสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาของโครงการแหล่งเรียนรู้ฯ
                             ่
                                       ั
                                                                                               ์
                            ้
                                                                                            ั
                                           �
                                                          ้
                                                                                    ิ
                                                                     ั
                                                                                         ิ
                                              ิ
                                                                                          ั
                                                   ่
                                                                                                    ้
                                                                                                    ู
                                                                                                          ื
                          แมวา โครงการวิจยจะดาเนนไปไมถึงการสรางกรอบการพฒนาและแผนปฏิบัตการ (วสยทศน) ของผคนในพนท  ่ ี
                                                                                                          ้
                                                         ี
                                                                                          ื
                    ุ
                                                                     ั
                                                                                                           ั
                                                                   ึ
                                                                   ่
                 ่
                                                                             ่
                                                                ั
                                            ้
               แตถ้าทกฝายได้ทบทวนบทบาทและหนาท่ของตนเอง มการยอมรบซงกนและกน ผานกระบวนการสอสาร และทางานรวมกน
                                                                                                   �
                       ่
                                                                                                        ่
                                                                                          ่
                                                                          ั
                                               ี
                                                                             ื
                                            ึ
               อย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดการรับฟังซ่งกันและกัน ทัศนคติท่ดี ผู้น�า และความต่อเน่องทางนโยบายของภาครัฐแล้วจะสามารถ
                                                            ี
               ประสบผลส�าเร็จในโครงการอย่างมีส่วนร่วมได้ต่อไป
               6. บทส่งท้าย
                      ผู้วิจัยมีความหวังว่า แนวความคิดพิพิธภัณฑ์ท่มีชีวิต จะได้รับการสานต่อท้งด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ เพ่อผลักดัน
                                                         ี
                                                                                                     ื
                                                                              ั
               การพัฒนาปากแพรกให้เกิดแผนแม่บทของเมือง  และมีผังเมืองรวมเฉพาะ  รวมทั้งขยายการมีส่วนร่วมในระดับจังหวัด  ภาค
               และประเทศข้นไป อันเป็นแนวทางเลือกของชุมชนด้งเดิมอ่นๆ ในประเทศไทย แม้การศึกษาในคร้งน้ จะไม่สามารถรอคอยผล
                                                                                          ี
                         ึ
                                                           ื
                                                                                        ั
                                                      ั
                                                           ี
               ในการตัดสินใจต้งเป้าหมายร่วมกันของท้งสองฝ่าย แต่ตัวช้วัดอย่างหน่งของโครงการ คือ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการรับร ู้
                                             ั
                           ั
                                                                   ึ
                                                                          ึ
                                      ี
                                                                       ึ
                           ิ
                                                                   ี
                                                                ื
               ข้อมูลของท้องถ่นและปรับเปล่ยนทัศนคติกลับมาเห็นคุณค่าของพ้นท่มากข้น ซ่งถือว่าชุมชนมีเป้าหมายร่วมกันทางความคิด
               ในการที่จะเก็บรักษาพื้นที่แห่งนี้เอาไว้
               เอกสารอ้างอิง
                    ิ
               ชีวสิทธ์ บุญยเกียรติ. (29 ธันวาคม 2554). ความหมายสากลของพิพิธภัณฑ์และพัฒนาการของพิพิธภัณฑ์แห่งกรุงสยาม.
                      เข้าถึงได้จาก: http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase/article_inside.php?id=1266.
               เพ็ญพรรณ  เจริญพร.  (2545).  การจัดท�าพิพิธภัณฑสถาน.  ในกองบรรณาธิการ  คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร
                      (ผู้รวบรวม), วารสารด�ารงวิชาการ, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1, หน้า 29-41.
               ยงธนิศร์ พิมลเสถียร. (พฤศจิกายน 2549). ชุมชนกับการอนุรักษ์ ตามกรอบของ Living Heritage. ในรัศมี รัตนไชยานนท์
                      (ผู้รวบรวม).  อิโคโมสกับบทบาทของเครือข่ายการอนุรักษ์และพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมในประเทศไทย
                      (การประชุมประจ�าปีอิโคโมสไทยและการสัมมนาวิชาการประจ�าปี  2547  ระหว่างวันท่  27-28  พฤศจิกายน).
                                                                                          ี
                      พิมพ์ครั้งที่ 1. หน้า 138 - 141. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
               ยงยุทธ ชูแว่น. (2545). ความส�าคัญและขอบเขตของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร
               ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร (ผู้รวบรวม). (กันยายน 2551). พิพิธภัณฑ์บันทก: ทบทวนบทเรียนจากการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์
                                                                 ึ
                      (เอกสารวิชาการล�าดับที่ 78). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
               Vol.  8                                      66
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76