Page 113 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 113
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
�
ซ่งผลการวัดความรู้ความเข้าใจของประชาชนตามท่จุดประสงค์การทาประชาสัมพันธ์ของโครงการฯ
ี
ึ
ท่ต้องการให้ประชาชนรู้และเข้าใจ รวมไปถึงการนาเกณฑ์ไปใช้ได้จริง ซ่งผลการวัดพบว่า ในเร่องการส่อความหมายผ่าน
ี
�
ึ
ื
ื
ั
อินโฟกราฟิกบนส่อแผ่นพับองค์ความรู้ ประชาชนไม่เข้าใจ และยังพบว่า ประชาชนสามารถอ่านค่าในเกณฑ์ท้ง 2 รูปแบบได้
ื
รวมไปถึงยังสามารถบอกได้ว่าบ้านหลังไหนประหยัดพลังงาน แต่ประชาชนไม่สามารถน�าเกณฑ์ทั้ง 2 รูปแบบไปใช้งานและ
ค�านวณออกมาได้อย่างถูกต้อง
4.4 สรุปผลการศึกษา: การตรวจสอบการจัดการข้อมูลผ่านส่ออินโฟกราฟิกในรูปแบบแผ่นพับ กรณีศึกษา
ื
โครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน
แผ่นพับองค์ความรู้ของโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัด
ี
�
พลังงานท่เกิดจากการว่าจ้างบริษัทภายนอกมาทาการออกแบบแทน ไม่สามารถทาการประชาสัมพันธ์ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์
�
�
ท่โครงการฯต้องการให้ประชาชนรู้และเข้าใจ รวมไปถึงการนาเกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานสาหรับบ้านพักอาศัยของ
ี
�
ประเทศไทยไปใช้จริงได้
5. ข้อเสนอแนะ
�
ี
สานักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีเป็นหน่วยงานฝ่ายการประชาสัมพันธ์ มีหน้าท่รับผิดชอบและภารกิจหลัก คือ
รณรงคให้ความรและจัดแสดงการใช้พลงงาน รวมไปถงหนาทนาข้อมลภายในกรมพฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลงงาน
ึ
ั
ั
ั
�
ู
ี
้
่
์
์
ู้
มาทาการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลให้กับองค์กร โดยปัจจัยการจัดการข้อมูล (เล่มรายงานการวิจัย) จะเป็นตัวช่วย
�
ท�าให้ส�านักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีสามารถจัดการข้อมูลการประชาสัมพันธ์เบื้องต้นได้ด้วยตนเอง
ี
�
�
จากตัวแปรท่ 1 ข้อมูลมากมายมหาศาล (Enormous Information) ควรทาการศึกษาและนาเสนอให้หน่วยงาน
ภายในองค์กรทาการเขียนรายงานให้ข้อมูลแต่ละบท ไม่ควรเกินกว่า 10 หน้า หากในบทมีการนาเสนอข้อมูลมากกว่าประเด็นเดียว
�
�
ควรแยกหัวข้อย่อยและแบ่งจ�านวนหน้าไม่ให้เกินตามหลักการเขียนที่กล่าวมาข้างต้น
จากตัวแปรที่ 2 ข้อมูลตัวเลขซับซ้อน (Complex Numbers) เป็นการจัดหมวดหมู่ข้อมูลตัวเลขเพื่อง่ายต่อการน�า
ข้อมูลไปท�าประชาสัมพันธ์ และสามาถน�าไปจัดการข้อมูล (รายงานการวิจัย) เล่มอื่นๆ ได้
เอกสารอ้างอิง
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). เขียนบทความอย่างไรให้น่าอ่าน. กรุงเทพฯ: บริษัท ซัคเซส มีเดีย จ�ากัด โครงการ
ศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 2560.
ื
นัจภัค มีอุสาห์ (2556). อิทธิพลของชุดข้อมูลและสีสันต่อความเข้าใจเน้อหาของอินโฟกราฟิก. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ไพโรจน์ คชชา. (2542). ความรู้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: เซ็นเตอร์ดิสคัฟเวอรี.
รัชชนก สวนสีดา, การออกแบบและการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์. ส�านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเทพสตรี.
เรืองกิตติ์ เหลืองสกุลทอง. (2542). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประชาสัมพันธ์. นครราชสีมา: ภาควิชาการจัดการ สถาบัน
ราชภัฏนครราชสีมา.
วิจิตร อาวะกุล. (2541). เทคนิคการประชาสัมพันธ์. (ฉบับปรับปรุง) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิมลพรรณ์ ตั้งจิตเพิ่มความดี. (2543). การประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
Vol. 9 106