Page 115 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 115
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
พฤติกรรมของลมที่ส่งผลต่อพื้นที่ภายในผังโครงการอาคารพักอาศัย
กรณีศึกษา: กลุ่มอาคารชุดบ้านเอื้ออาทรร่มเกล้า 2
The Behavior of Wind Effecting The Area with in The Master Plan Residential Buildings
Case Study: The Layout of Building Baan Uea Arthon Rom Klao 2
จิรเชษฐ์ ไชยเจริญ ศุทธา ศรีเผด็จ รวิช ควรประเสริฐ 3
1
2
บทคัดย่อ
ี
ึ
ิ
ึ
ความต้องการมีท่อยู่อาศัยของผู้รายได้น้อยซ่งมีเพ่มมากข้น ทางการเคหะแห่งชาติจึงได้จัดสรรที่อยู่อาศัยเพ่อให้
ื
ี
เพียงพอกับความต้องการของประชาชนและด้วยพ้นท่ดินท่มีราคาแพงและมีจานวนจากัดในเมืองหลวง การวางผังอาคารจึง
ี
ื
�
�
ค่อนข้างแออัดและมีระยะห่างที่น้อยเพื่อให้ได้จ�านวนของอาคารเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่จ�ากัด จนส่งผลต่อการระบายอากาศภายใน
ั
่
ึ
ิ
ั
่
ั
้
ื
ั
ื
่
้
ื
ิ
ี
้
่
ผงบรเวณโครงการบานพกอาศย ซงงานวจยเรองการปรบปรงอาคารชดบานเอออาทรเพอใหเกิดภาวะนาสบายโดยวธธรรมชาต ิ
ุ
ั
ิ
ุ
้
กรณีศึกษา โครงการบ้านเอื้ออาทรชุมชนร่มเกล้า 2 (ศิรินพ, 2554) เป็นการทดสอบการเคลื่อนที่ของลมที่มากระท�ากับผัง
ี
�
ี
ิ
ื
ื
ี
ของโครงการเพียงทิศทางเดียว แต่ยังมีทิศทางอ่นท่จะต้องทาการวิเคราะห์เพ่มเติมเพราะการเคล่อนท่ของลมจะมีการเปล่ยนแปลง
ั
ึ
ี
�
ตลอดเวลาโดยท่ไม่ได้พัดมาเพียงทิศทางใดทิศทางหน่ง ดังน้นจึงจาเป็นท่จะต้องเก็บข้อมูลของกระแสลมในทิศทางอ่นด้วย
ื
ี
เพื่อให้การแก้ไขปัญหาได้ตรงตามความต้องการ งานวิจัยฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์ อธิบายรูปแบบการเคลื่อนที่ของกระแสลม
ื
�
ี
ี
ื
ท่เปล่ยนแปลงเม่อกระทากับผังโครงการในแต่ละทิศ ภายในกลุ่มอาคารชุดบ้านเอ้ออาทรร่มเกล้า 2 โดยแบ่งตามระดับความถ ่ ี
ื
ี
ของลมประจาทิศท่เกิดข้นภายในพ้นท่กรุงเทพมหานคร ซึ่งระดับความถ่ท่เกิดข้นบ่อยคร้งมากท่สุด คือ ความถ่ระดับ A
ึ
ี
ึ
ั
ี
ี
ี
ี
�
มีความเร็วลมอยู่ที่ 5.39 km/h (1.50 m/s) เป็นความถี่ที่เกิดขึ้นสูงสุด จากผลการจ�าลองด้วยโปรแกรมวิเคราะห์พลศาสตร์
ี
ของไหล Autodesk CFD 2015 แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของทิศและกระแสลมท่มากระทากับผังโครงการจะส่งผลให้
�
่
ึ
พฤติกรรมของกระแสลมจะเปล่ยนแปลงไป โดยจะลดตาลงจนอยู่ในช่วงท่ไม่รู้สึกหรือสังเกตได้ว่ามีกระแสลม ซ่งในแต่ละพ้นท ่ ี
�
ื
ี
ี
ื
�
แตกต่างกันออกไปตามความสัมพันธ์ของทิศท่มากระทา เน่องจากเกิดการบังของกลุ่มอาคารท่อยู่ด้านเหนือกระแสลมทาให้
ี
ี
�
กลุ่มอาคารท่อยู่ด้านใต้ของกระแสลมมีบริเวณพ้นท่ ท่กระแสลมอยู่ในระดับตาเป็นบริเวณกว้าง ดังน้นงานวิจัยน้แสดงให้เห็นถึง
ี
ี
ั
ี
่
�
ื
ี
�
ี
�
การเปล่ยนแปลงของตาแหน่งท่กระแสลมมากระทากับผังโครงการจนทาให้กลุ่มอาคารภายในผังโครงการท่อยู่ทางด้านใต้ของ
ี
ี
�
กระแสลมไม่สามารถใช้ประโยชน์จากกระแสลมธรรมชาติที่มีอยู่ภายในผังโครงการได้ ส่งผลต่อการกระจายตัวของกระแสลม
ในการระบายอากาศภายในบริเวณผังโครงการ และเพ่อใช้เป็นข้อมูลแสดงตาแหน่งของตัวอาคารท่ได้รับผลกระทบดังกล่าว
ื
ี
�
และสามารถน�าไปปรับปรุงตัวอาคารได้ตรงตามต�าแหน่งที่ต้องการ
ค�าส�าคัญ: ความเร็วลมประจ�าทิศของกรุงเทพมหานคร ผังโครงการขนาดใหญ่ โปรแกรมวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหล
1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2 ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3 ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Vol. 9 108