Page 111 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 111
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ตารางที่ 7 จ�านวนครั้งการท�าเช็คลิสต์บนข้อมูลที่ได้รับจากการอ่านสื่อแผ่นพับองค์ความรู้
จ�านวนการ
ข้อ รายละเอียดข้อมูลในการประเมิน เช็คลิสต์
(ครั้ง)
1. โครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน 28
เกิดจากการร่วมมือกันระหว่างกระทรวงพลังงานและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.
2. จุดประสงค์ของโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัด 24
พลังงาน จัดท�าขึ้นเพื่อลดการใช้พลังงานลงร้อยละ 30% ในปี พ.ศ. 2579 ตามเป้าหมายที่
กระทรวงพลังงานก�าหนดในแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี
3. เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทย สร้างขึ้นเพื่อควบคุม 26
บ้านพักอาศัยที่จะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคต ในการเลือกวัสดุการก่อสร้างเพื่อให้ประหยัดพลังงาน
4. เกณฑ์การใช้พลังงานของบ้านพักอาศัยคือ ปริมาณพลังงานต่อพื้นที่ใช้สอยของบ้านพักอาศัย 21
5. เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทย เกิดจากการศึกษาและรวบรวม 14
ข้อมูลรูปแบบเกณฑ์การใช้พลังงานของบ้านพักอาศัยในต่างประเทศ
6. เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทย เกิดจากการรวบรวมข้อมูล 13
ทุติยภูมิจากส�านักงานสถิติแห่งชาติ
7. เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทย เกิดจากการลงพื้นที่ส�ารวจ 14
และเก็บข้อมูลจริงจากทุกภาคในประเทศไทย
8. เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทยที่สร้างขึ้นมี 2 รูปแบบ ได้แก่ 19
รูปแบบตัวเลข และ รูปแบบเงื่อนไข
9. เกณฑ์รูปแบบตัวเลข เกิดจากการจ�าลองสภาวะด้วยโปรแกรมจากผู้เชี่ยวชาญ 17
ื
�
ึ
เกณฑ์รูปแบบเง่อนไข สร้างข้นเพ่อใช้ในการกาหนดรูปทรงอาคาร วัสดุ และอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง
ื
10. 14
ในตัวบ้าน
11. เกณฑ์รูปแบบตัวเลข เป็นการก�าหนดค่ามาตรฐานพลังงานเป็นตัวเลขค่าเดียว 9
12. เกณฑ์รูปแบบเงื่อนไขถูกพัฒนาเพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบในรูปแบบเช็คลิสต์ 16
เกณฑ์เกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทย จะเป็นตัวบอกได้ว่า
13. 17
บ้านพักอาศัยหลังไหนประหยัดพลังงาน
เกณฑ์ตัวเลือกช่วยในการออกแบบ เลือกใช้วัสดุ และอุปกรณ์ในบ้านพักอาศัยที่เหมาะสม ส�าหรับ
14. 27
การท�าให้บ้านประหยัดพลังงาน
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ั
ู
ื
ั
่
ุ
ี
ี
่
่
็
ิ
ิ
ซงผลการเชคลสต์สงทประชาชนได้รบจากการอ่านสอแผ่นพบองค์ความร้มากทสด (Max) ในข้อท 1
ึ
่
ี
่
่
จ�านวน 28 ครั้ง และน้อยที่สุด (Min) ในข้อที่ 11 จ�านวน 9 ครั้ง ดังนั้นเกณฑ์ในการวัดว่าประชนชนได้รับข้อมูลใดบ้าง
จากแผ่นพับต้องผ่านเกณฑ์ (Mean) หรือมีการเช็คลิสต์จ�านวนมากกว่า 18.5≈19 ครั้งขึ้นไปพบว่า ประชาชนไม่ได้รับข้อมูล
ครบถ้วนตามที่โครงการฯ ได้วางไว้ถึง 57% ของข้อมูลทั้งหมดที่ต้องการท�าประชาสัมพันธ์
Vol. 9 104