Page 178 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 178
การออกแบบสภาพแวดล้อมภายในด้านอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และการเปิดช่องแสงธรรมชาติต้องเป็นไปตาม
ิ
�
�
ั
เกณฑ์การประเมินความย่งยืนทางพลังงานและส่งแวดล้อมไทยสาหรับอาคารระหว่างใช้งาน ในส่วนของค่าอุณหภูมิคานึงจาก
ลักษณะการใช้งาน และต้องเป็นไปตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ วสท. (วสท.-3003) (สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย, 2551) ต้องวัดค่าให้ตรงตามตาราง
ื
ึ
ท่กาหนดในหัวข้ออุณหภูมิกระเปาะแห้ง และ ความช้นสัมพัทธ์ (สถาบันอาคารเขียวไทย, 2555) ซ่งในห้องสมุดควรมีอุณหภูม ิ
ี
�
ั
ื
ี
อยู่ท่ 24°c และมีความช้นสัมพัทธ์ 55%RH อ้างอิงจาก วสท.-3003-51 อีกท้ง ต้องเสริมสร้างสภาวะน่าสบายภายในห้องสมุด
(สถาบันอาคารเขียวไทย, 2555) สภาวะน่าสบายประกอบด้วยอุณหภูมิที่ 22-29°c และ ความชื้นสัมพัทธ์ที่ 40-75% RH
(กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2560) ส่วนการค�านวณ BTU ระบบปรับอากาศแบบ
�
แยกส่วนมีมาตรฐานกาหนดการเลือกขนาดเคร่องปรับอากาศสาหรับขนาดพ้นท่ 34-44 ตารางเมตร ควรเลือกใช้ขนาด
�
ื
ื
ี
เครื่องปรับอากาศ 36000 BTU (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2555) ส่วนการเพิ่ม
�
ื
ิ
ื
ระบบควบคุมเคร่องปรับอากาศอัตโนมัติจะช่วยให้เคร่องปรับอากาศทางานได้เหมาะสมต่อการใช้งานและเพ่มประสิทธิภาพ
การประหยัดพลังงานมากขึ้น (ชนิกานต์ ยิ้มประยูร, 2558)
ในด้านแสงสว่างจะต้องมีมาตรฐานในการเลือกค่าความสว่างให้เหมาะสมกับแต่ละพ้นท่ และต้องมีค่าความสว่าง
ี
ื
�
�
ี
ื
ในแต่ละพ้นท่เป็นไปตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
�
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง International Commission on Illumination (CIE)
ที่ก�าหนดไว้ว่า มาตรฐานค่าสองสว่างภายในห้องสมุด ต้องมีค่าส่องสว่าง 300-500-750 (กระทรวงแรงงาน, 2559) ในส่วน
ั
ของมาตรฐานค่าความส่องสว่างท่เหมาะสมภายในห้องสมุดต้องมีค่ามาตรฐานความส่องสว่างบริเวณช้นหนังสือ 200 ลักซ์
ี
บริเวณอ่านหนังสือที่ 500 ลักซ์ และโต๊ะท�างานเจ้าหน้าที่ 500 ลักซ์ (สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย, 2550)
ี
งานวิจัยน้ใช้กระบวนการประเมินอาคารหลังการเข้าใช้ (Post Occupancy Evaluation) โดยมีเกณฑ์ท่ใช้ในการประเมิน
ี
อาคารหลังการเข้าใช้ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านเทคนิคและการออกแบบก่อสร้างอาคารเก่ยวกับสภาพแวดล้อมภายใน
ี
�
ท่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้ใช้อาคาร ระบบทาความร้อนความเย็นในอาคาร 2) ด้านการใช้งานเก่ยวกับความสอดคล้องของ
ี
ี
ี
สภาพแวดล้อมกับการใช้พ้นท่ 3) ด้านพฤติกรรมเก่ยวกับการรับรู้สภาพแวดล้อมของผู้ใช้อาคาร (Preiser, 1988; Blyth,
ี
ื
Gilby and Barlex, 2006)
ี
ื
ี
ี
จากการศึกษาเก่ยวกับการเปล่ยนแปลงพ้นท่ภายในห้องสมุดสู่ศตวรรษท่ 21 โดยใช้กระบวนการประเมินอาคาร
ี
หลังการเข้าใช้พบว่า กระแสนิยมในการออกแบบที่ขาดไม่ได้ส�าหรับห้องสมุดในศตวรรษที่ 21 คือ ต้องมีอินเทอร์เน็ต และ
การออกแบบเพื่อความยั่งยืน ห้องสมุดต้องเป็นพื้นที่ที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจ (Latimer, 2011) การออกแบบเพื่อความ
ย่งยืนสาหรับห้องสมุดไม่เพียงแต่เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมทางกายภาพแต่ต้องมีการสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมท่ปลูกฝัง
ี
�
ั
การอนุรักษ์พลังงาน จุดประกายความคิด และความรู้เกี่ยวกับเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม (Edwards, 2011)
�
ข้อมูลจากรายงานการประเมินอาคารหลังการเข้าใช้ในอาคารเขียวประเภท สานักงาน ห้องสมุด และท่พักอาศัย
ี
ี
ี
เป็นการศึกษาอาคารเฉพาะกรณี โดยนาข้อมูลมาสรุปเปรียบเทียบ เพ่อทาการประเมินหาค่าใช้จ่ายท่ลดลงจากอาคารท่ประหยัด
ื
�
�
พลังงาน (Cascadia Region Green Building Council, 2006) รายงานดังกล่าวศึกษาในเรื่องของประสิทธิภาพการประหยัด
พลังงาน โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในด้านอุณหภูมิ แสงสว่าง คุณภาพอากาศ แสง เสียง และการใช้น�้า
ี
ี
ส่วนงานวิจัยท่ศึกษาเก่ยวกับการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพสภาพแวดล้อมภายในเปรียบเทียบระหว่างอาคารเขียว
ประเภทอาคารสานักงาน และอาคารสานักงานธรรมดา ซ่งเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีพบว่าผู้ใช้อาคารมีความพึงพอใจคุณภาพ
�
ึ
�
อากาศอาคารเขียวมากกว่าอาคารธรรมดา (Abbaszadeh, Zagreus, Lehrer and Huizenga, 2006)
�
ี
อาคารประหยัดพลังงานถูกสร้างด้วยเทคโนโลยีใหม่จึงจ�าเป็นต้องคานึงถึงความพึงพอใจของผู้ใช้งานเก่ยวกับปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง โดยการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจด้านคุณภาพอากาศภายในอาคาร อุณหภูมิ โครงสร้างอาคาร แสงสว่าง
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
171 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.