Page 181 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 181

Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018
                                                  th







                        4.6.2  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยน�าข้อมูลจากการท�าผังพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม สังเกตที่ตั้ง
             สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน ร่องรอยทางกายภาพ ถ่ายภาพ ทาแบบสอบถาม สัมภาษณ์ และ สนทนากลุ่มมาวิเคราะห์
                                                                 �
             เนื้อหาจัดกลุ่มและสร้างประเด็นหลักๆ ที่พบและเรียงล�าดับความส�าคัญ


             5. ผลการวิจัย

                    5.1  ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

                                                     ั
                        กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เคยใช้ห้องสมุดรวมท้งหมด 123 คน ประกอบด้วยนักเรียนนักศึกษา (73%) 90 คน ศิษย์เก่า
                                                                                             ี
                                 ั
             (15%) 19 คน ประชาชนท่วไป (10%) 12 คน เจ้าหน้าท่ (1%) 1 คน และ อาจารย์ (1%) 1 คน อายุเฉล่ยของกลุ่มตัวอย่าง
                                                        ี
             คือ  23  ปี  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุเท่ากับ  6  กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง  (80%)  45  คน  เพศชาย  (18%)  10  คน
             ระดับการศึกษาต�่ากว่าระดับปริญญาตรี  (9%)  11  คน  ระดับปริญญาตรี  (72%)  89  คน  ระดับปริญญาโท  (18%)  22  คน
             และระดับปริญญาเอก (8%) 1 คน ส่วนผู้ให้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เป็นเจ้าหน้าที่ที่ท�างานในห้องสมุด 3 คน และผู้ให้ข้อมูล
             จากการสนทนากลุ่มเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี 6 คน

                    5.2  ปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานและแนวทางประหยัดพลังงาน

                                       ี
                                    ื
                        จากการสังเกตพ้นท่พบว่าห้องสมุดได้ถูกออกแบบตามแนวคิดให้เกิดความตระหนักถึงการรักษาส่งแวดล้อมเน้น
                                                                                                ิ
             การใช้วัสดุรีไซเคิล  และน�าวัสดุกลับมาใช้ใหม่  ซึ่งเป็นไปตามข้อก�าหนดด้านวัสดุในเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดสีเขียว  (ส�านัก
             หอสมุดเกษตรศาสตร์,  2559)  ในส่วนการประหยัดพลังงานมีการแบ่งพื้นที่ต่างๆ  ในการใช้เครื่องปรับอากาศ  แต่ละพื้นที่มี
                                                                               ื
                         ี
                                                                                                      �
             การใช้พลังงานท่แตกต่างกัน ส่วนการให้แสงสว่างมีการใช้หลอดประหยัดพลังงาน การใช้พ้นท่มีประเภทผู้เข้าใช้งาน และจานวน
                                                                                  ี
             ผเข้าใช้งานแต่ละพ้นท่ท่แตกต่างกัน ปัญหาเก่ยวกับการใช้พลังงานและแนวทางประหยัดพลังงานแบ่งออกเป็น 3 ประเดนหลกๆ
                                               ี
                                                                                                        ั
              ู้
                               ี
                             ี
                                                                                                     ็
                           ื
             ประกอบไปด้วยด้านอุณหภูมิ ด้านแสงสว่าง และด้านการใช้พื้นที่ ดังนี้
                                       ิ
                                      ู
                                                                       ั
                                                ั
                                  ุ
                                                                                                ั
                                                                                               ิ
                                                                                              ู
                                                             ึ
                        5.2.1  ด้านอณหภม  จากการสงเกตและจดบนทกผงระบบปรบอากาศภายในห้องสมดของผ้วจยพบว่าระบบ
                                                                                         ุ
                                                          ั
                                                               ั
             ปรับอากาศที่ใช้ในห้องสมุดแบ่งเป็น 2 ระบบ คือ ระบบแยกส่วน และ ระบบรวมศูนย์ ระบบแยกส่วนใช้ภายในห้องหนังสือ
             ส�าหรับเด็ก ในส่วนอ่านหนังสือทั่วไปภายในห้องสมุดใช้ระบบรวมศูนย์
                                                                                                          ่
                                                                                            ุ
                                                                ุ
                                                                                              ั
                                                                                                ั
                                                                                                   ึ
                                                                                            ่
                                                                              ้
                                                                         ์
                                                                           ้
                                                                                ่
                                                                                ี
                                                                   ั
                                                            ้
                                          ู
                                     ็
                                       ้
                                                         ้
                                                          ้
                             จากการเกบขอมลจากการสอบถามผใชหองสมด สมภาษณเจาหนาท และสนทนากลมกบนกศกษาพบวา
                                                         ู
             บริเวณที่มีอุณหภูมิร้อนที่สุดเป็นบริเวณริมหน้าต่าง เนื่องจากมีแสงแดดส่องเข้ามาในช่วงเวลากลางวัน (ตารางที่ 1) ในส่วน
             บริเวณท่มีอุณหภูมิหนาวเย็นเป็นบริเวณอ่านหนังสือโดยเฉพาะบริเวณท่น่งในส่วนท่มีลมเย็นตกลงมา และภายในห้องหนังสือ
                                                                            ี
                    ี
                                                                   ี
                                                                    ั
                                   �
             สาหรับเด็ก  ซึ่งห้องหนังสือสาหรับเด็กมีผู้มาใช้ค่อนข้างน้อย  เน่องจากจากัดอายุผู้เข้าใช้  ส่วนระบบปรับอากาศเป็นแบบ
              �
                                                                     �
                                                               ื
                                                                  ู
             แยกส่วน ขนาด 36000 BTU ต่อขนาดห้องประมาณ 35 ตารางเมตร ผ้ให้ข้อมูลได้ให้ข้อมูลว่าในช่วงเปิดเทอมของเดกนักเรยน
                                                                                                   ็
                                                                                                        ี
                                     ื
                                                                                                ื
                        ี
             มีการปิดพ้นท่  ปิดไฟ  และเคร่องปรับอากาศภายในห้อง  กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในการลดการใช้พลังงานเคร่องปรับอากาศ
                     ื
             ด้วยการใช้เคร่องควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติจะสามารถเพ่มประสิทธิการประหยัดพลังงานภายในห้องสมุดได้ ส่วนในเร่องการเปล่ยน
                                                                                                 ื
                       ื
                                                                                                        ี
                                                     ิ
                                                                                                   ี
             มาใช้วัสดุกระจกกันความร้อน  กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่าควรใช้  เช่นเดียวกันกับความคิดเห็นของเจ้าหน้าท่ผู้ให้ข้อมูล
                                 ิ
                                                                            �
                                             ี
                       ี
             และเจ้าหน้าท่ยังให้ข้อมูลเพ่มเติมว่าการเปล่ยนวัสดุมาใช้กระจกกันความร้อนจะต้องคานึงถึงปัจจัยด้านงบประมาณการก่อสร้าง
             (ตารางที่ 1)
             Vol. 9                                       174
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186