Page 179 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 179
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ี
ื
และพฤติกรรมการใช้พ้นท่ภายในอาคาร เพ่อพัฒนาอาคารประหยัดพลังงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดความเหมาะสมกับผู้ใช้งาน
ื
(วิลาศ เทพทา, 2549)
จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า มีการศึกษาการประเมินอาคารหลังการเข้าใช้ในอาคารเขียวประเภทต่างๆ และ
ศึกษาความพึงพอใจในอาคารประหยัดพลังงาน และอาคารทั่วไป (Cascadia Region Green Building Council, 2006;
วิลาศ เทพทา, 2549; Abbaszadeh, et al., 2006) มีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้านพลังงาน (Lucuik, et al., 2010)
ส่วนการใช้กระบวนการประเมนอาคารหลังการเข้าใช้พ้นท่ภายในห้องสมุดกมีเพียงการศึกษาแต่ในแง่ของการเปล่ยนแปลง
ิ
็
ื
ี
ี
ี
ื
ี
พ้นท่ภายในห้องสมุดสู่ศตวรรษท่ 21 และการประเมินค่าใช้จ่ายท่ลดลงจากอาคารประหยัดพลังงาน (Latimer, 2011; Cascadia
ี
ิ
ึ
Region Green Building Council, 2006) ดังน้นในการวจัยนผู้วจัยจงนากระบวนการประเมินอาคารหลงการเข้าใช้ด้าน
ิ
ี
ั
้
�
ั
การประหยัดพลังงานมาใช้เพื่อศึกษาหาแนวทางในการประหยัดพลังงานในห้องสมุด
4. วิธีการวิจัย
4.1 วิธีการวิจัย
ึ
ี
การวิจัยน้เป็นการประเมินสภาพแวดล้อมภายในหลังการเข้าใช้ซ่งเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีท่ห้องสมุดในมหาวิทยาลัย
ี
โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพกึ่งปริมาณโดยใช้วิธีการสังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม และสนทนากลุ่ม ในระยะเวลาสั้น
4.2 ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
กลุ่มต่างๆ ที่ใช้สถานที่ห้องสมุดประกอบด้วย 3 กลุ่ม ดังนี้
ั
4.2.1 ผู้เข้าใช้ห้องสมุดประชากร คือ ผู้ใช้ห้องสมุดประกอบด้วยนักศึกษา ประชาชนท่วไป อาจารย์ และ ศิษย์เก่า
ท่เข้ามายืมคืน สืบค้นหนังสือ หรือมาน่งอ่านหนังสือ และทางาน ซ่งไม่สามารถระบุจานวนประชากรได้ การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ั
ึ
�
ี
�
ใช้วิธีการเลือกอย่างเจาะจงซึ่งเป็นผู้ใช้ห้องสมุดในวันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 10.00 น. จ�านวน 56 คน และ
วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 13.00 น. จ�านวน 30 คน และ กลุ่มตัวอย่างที่ท�าแบบสอบถามทางออนไลน์ ตั้งแต่
วันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม-วันอาทิตย์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2560 จ�านวน 37 คน รวมทั้งหมด 123 คน
4.2.2 เจ้าหน้าที่ ประชากร คือ เจ้าหน้าที่ภายในห้องสมุดจ�านวน 3 คน ผู้วิจัยคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลอย่างเจาะจง
จ�านวน 3 คน ที่ท�างานให้ข้อมูลด้านห้องสมุด และสมัครใจให้ความร่วมมือผู้วิจัยคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล 2 รอบ รอบแรกวันจันทร์
ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 13.00 น. และรอบที่ 2 วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 11.00 น. และเวลา
12.30 น.
�
ึ
4.2.3 นักศึกษา ประชากร คือ นักศึกษาท่เคยใช้ห้องสมุดซ่งไม่สามารถระบุจานวนประชากรได้ ผู้วิจัยคัดเลือก
ี
ผู้ให้ข้อมูลอย่างเจาะจงจ�านวน 6 คน ในวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เวลา 11.00 น.
4.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ี
4.3.1 ผังพฤติกรรม ผังพฤติกรรมมีความยาว 2 หน้า เป็นผังท่ใช้ประกอบการสังเกตพฤติกรรมของผู้ใช้ห้องสมุด
ผังพฤติกรรมประกอบด้วยผังห้องสมุด วันเวลาที่ท�าการ ผังพฤติกรรมนี้ผู้วิจัยจัดท�าขึ้นเอง
4.3.2 แบบสอบถามผู้ใช้ห้องสมุด แบบสอบถามมีความยาว 1 หน้า แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนท่ 1
ี
ส่วนสอบถามความคิดเห็นทั้งหมด 6 ข้อ เป็นค�าถามปลายปิด ซึ่งถามเกี่ยวกับการใช้งานแต่ละพื้นที่ แนวทางการออกแบบ
ปรับปรุงอุณหภูมิ และแสงสว่าง ส่วนท่ 2 เป็นส่วนแบบสอบถามความพึงพอใจต่ออุณหภูมิภายในห้องสมุด ส่วนท่ 3 ส่วนสุดท้าย
ี
ี
�
�
ึ
ั
คือ ข้อมูลท่วไป ได้แก่ อายุ เพศ กลุ่มผู้ใช้สถานท่ และระดับการศึกษา แบบสอบถามน้ผู้วิจัยจัดทาข้นเอง โดยได้รับคาแนะนา
ี
�
ี
จากอาจารย์ด้านสถาปัตยกรรมภายในในการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม จึงน�ามาใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
Vol. 9 172