Page 180 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 180

ี
                                                                                                          ื
                                                                                                    �
                                                 ี
                         4.3.3  แบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่แบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ภายในห้องสมุดมีความยาว  1  หน้าเป็นคาถามเร่อง
              ความรู้สึก ความคิดเห็นต่ออุณหภูมิ และ แสงสว่างภายในห้องสมุด แนวทางในการปรับปรุงห้องสมุด ข้อมูลการใช้พลังงาน
                                                                    ื
              ข้อมูลการใช้วัสดุ และอ่นๆ เก่ยวกับแนวทางในการออกแบบปรังปรุงเพ่อประหยัดพลังงาน และส่งเสริมการรักษาส่งแวดล้อม
                                                                                                    ิ
                                     ี
                                ื
              แบบสัมภาษณ์นี้ผู้วิจัยจัดท�าขึ้นเอง
                         4.3.4  แบบสนทนากลุ่ม แบบสนทนากลุ่มมีความยาว 1 หน้าหัวข้อในการสนทนากลุ่มเก่ยวกับเร่องข้อดี ปัญหา
                                                                                                 ื
                                                                                           ี
              และ  ข้อเสนอแนะด้านสภาพแวดล้อมภายในห้องสมุด  ความคิดเห็นเกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอย  อุณหภูมิ  วัสดุ  และแนวทางเพื่อ
              เพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานด้านสภาพแวดล้อมภายในห้องสมุด
                      4.4  วิธีการเก็บข้อมูล
                         4.4.1  สังเกตและถ่ายภาพสภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน  ผู้วิจัยขออนุญาตเข้าเก็บข้อมูลในห้องสมุด
              เมื่อวันพุธที่  6  กันยายน  พ.ศ.  2560  จากนั้นท�าผังพฤติกรรมมีความยาว  2  หน้า  เป็นแบบที่ใช้สังเกตพฤติกรรมของผู้ใช้
              อาคาร  จากนั้นสังเกตที่ตั้ง  สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน  ร่องรอยทางกายภาพ  และถ่ายภาพห้องสมุดในวันจันทร์ที่
              10 กันยายน พ.ศ. 2560 วิธีการทั้งหมดผู้วิจัยท�าด้วยตนเอง

                         4.4.2  แจกแบบสอบถามผู้ใช้ห้องสมุด ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามแก่ผู้เข้าใช้ห้องสมุด 56 คน โดยใช้วิธีแจกแล้ว
              เก็บกลับมาทันที ในวันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 10.00-13.00 น. ใช้เวลาในการแจกแบบสอบถาม 3 ชั่วโมง
              มีผู้ท�าแบบสอบถาม 56 คน ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามรอบที่ 2 ในวันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 13.00-16.00 น.
              ใช้เวลาในการแจกแบบสอบถาม  3  ชั่วโมง  มีผู้ท�าแบบสอบถาม  30  คน  จากนั้นผู้วิจัยท�าแบบสอบถามออนไลน์และแชร์ให้
              ผู้ที่เคยมาใช้ห้องสมุด ในวันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม-29 ตุลาคม พ.ศ. 2560 และได้รับการตอบกลับ 37 คน รวมผู้ท�าแบบสอบถาม

              ทั้งหมด 123 คน

                         4.4.3  สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ ผู้วิจัยสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ที่ท�างานให้ข้อมูลเกี่ยวกับห้องสมุด จ�านวน 1 คน ในวัน
              จันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 13.00-14.00 น. ใช้เวลาในการสัมภาษณ์เป็นเวลา 1 ชั่วโมง และเข้าไปสัมภาษณ์
              เป็นรอบที่ 2 เพิ่มเติมอีก 2 คนในวันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 คนแรก เวลา 11.00-11.30 น. เป็นเวลา 30 นาที
              และคนที่ 2 เวลา 12.30-13.00 น. เป็นเวลา 30 นาที

                         4.4.4  สนทนากลุ่มกับนักศึกษา ผู้วิจัยจัดสนทนากลุ่มโดยมีผู้เข้าร่วมเป็นนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย 6 คน
              ในวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เวลา 11.00-12.00 น. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ที่ห้องสมุด

                      4.5  การตรวจสอบข้อมูล

                                 �
                                                      �
                         ผู้วิจัยได้ทาการตรวจสอบข้อมูลก่อนนาไปวิเคราะห์โดยใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า  โดยตรวจสอบ
              แบบสามเส้าด้านข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ สอบถามผู้ใช้ห้องสมุด และสนทนากลุ่มกับนักศึกษาในประเด็นเดียวกัน
              จากนั้นถอดความและจัดกลุ่มประเด็นต่างๆ ที่พบซ�้าเข้าด้วยกันและน�ามาตีความสรุปข้อมูลพบว่าเป็นไปในทางเดียวกัน

                      4.6  วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

                         การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้

                         4.6.1  วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณนา ผู้วิจัยใช้โปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ความถี่
                                                                         ่
                                                             ้
                                                                      ็
                                                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                                   ู
                                                                                                          ่
                                                                                                     ิ
                                                                                               ุ
                                                                                  ุ
                                                                                    ่
                                                                                            ้
                                         ุ
                                     ้
                                                 ี
                                             ิ
                                   ้
               ้
              รอยละ ของประเภทของผใชหองสมด บรเวณทไมคอยมผเขาใช ความคดเหนตอการปรบปรงตางๆ ทางดานอณหภม แสงสวาง
                                  ู
                                  ้
                                                         ู
                                                         ้
                                                          ้
                                                        ี
                                                 ่
                                                   ่
                                                    ่
              และความพึงพอใจต่อส่วนต่างๆ ภายในห้องสมุด วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุของผู้เข้าใช้ห้องสมุด
              ผู้วิจัยน�าเสนอข้อมูลด้วยการเขียนบรรยายและตาราง
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            173   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185