Page 186 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 186
ี
ั
ื
ื
ั
และประชาชนท่วไป เข้าใช้ห้องอ่านหนังสือเด็กเพ่อให้เกิดความคุ้มค่าท้งทางด้านพ้นท่ และด้านพลังงาน โดยการปรับเฟอร์นิเจอร์
ภายในห้องสมุดให้เกิดความเหมาะสมในการนั่งอ่านหนังสือส�าหรับกลุ่มผู้ใช้อื่นๆ ในช่วงเปิดเทอมของเด็ก อีกทั้งควรเปลี่ยน
เครื่องปรับอากาศภายในห้องอ่านหนังสือเด็กให้มีขนาด 30000 BTU ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องซึ่งเหมาะสมกับขนาดพื้นที่
34-44 ตารางเมตร เพื่อลดการใช้พลังงาน (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2555)
7. ข้อเสนอแนะ
7.1 ข้อเสนอแนะแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน
7.1.1 ด้านอุณหภูมิ
1. เนื่องจากอาคารเดิมใช้กระจกธรรมดาอีกทั้งบริเวณริมหน้าต่างอยู่ทางทิศใต้ และ ทิศตะวันตกท�าให้
ความร้อนเข้าสู่อาคารในช่วงบ่าย เพราะฉะนั้นควรเปลี่ยนมาใช้กระจกกันความร้อนเพื่อป้องกันความร้อนเข้าสู่ตัวอาคารและ
ยังช่วยลดการใช้งานจากการท�างานของระบบปรับอากาศลงท�าให้สามารถประหยัดพลังงานในส่วนของเครื่องปรับอากาศได้
2. ควรใช้ระบบควบคุมเคร่องปรับอากาศอัตโนมัติเพ่อสร้างอุณหภูมิภายในห้องสมุดให้คงท่ เหมาะสม
ื
ี
ื
ต่อจ�านวนผู้เข้าใช้ห้องสมุดในแต่ละพื้นที่
3. ควรเปลี่ยนขนาดของ BTU เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนภายในห้องหนังสือส�าหรับเด็ก ซึ่งขนาด
ปัจจุบันอยู่ที่ 36000 BTU ต่อขนาดห้องประมาณ 35 ตารางเมตร เป็น 30000 BTU ต่อขนาดห้อง 34-44 ตารางเมตร
ี
ื
ึ
กรณีห้องท่มีแสงแดดส่อง ซ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการเลือกเคร่องปรับอากาศ (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์
พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2555)
7.1.2 ด้านแสงสว่าง
ิ
1. ควรเพ่มเทคนิคการให้แสงสว่างธรรมชาติ Light-Shelves ควบคู่กับการใช้กระจกกันความร้อนภายใน
ห้องสมุดเพื่อลดการใช้พลังงานจากแสงสว่างลง
ิ
2. ควรเพ่มแสงสว่างธรรมชาติตามเปอร์เซ็นต์ค่าประกอบแสงสว่างธรรมชาติอิงมาตรฐานเกณฑ์คะแนน
TREES-EB ให้อยู่ในระดับคะแนนที่ดี (สถาบันอาคารเขียวไทย, 2555) เพื่อให้แสงสว่างธรรมชาติเพียงพอต่อพื้นที่ และเกิด
การประหยัดพลังงาน
7.1.3 ด้านการใช้พื้นที่ ควรหาแนวทางการออกแบบเพื่อหมุนเวียนให้กลุ่มผู้เข้าใช้ห้องสมุดประเภทนักศึกษา
ี
�
อาจารย์ และ ประชาชนท่วไป สามารถเข้าใช้พ้นท่ห้องหนังสือสาหรับเด็กได้ เพ่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้พ้นท่และพลังงาน
ี
ื
ื
ื
ั
7.2 ข้อเสนอแนะในการท�าวิจัยครั้งต่อไป
1. ในการวิจัยครั้งต่อไปควรน�าเครื่องมือวัดค่าความส่องสว่าง และอุณหภูมิ มาใช้เก็บข้อมูลด้วย
2. ผู้วิจัยศึกษาเฉพาะในเรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานแต่จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่
�
และสนทนากลุ่มกับนักศึกษา พบว่าภายในห้องสมุดมีผู้เข้าใช้ห้องสมุดเป็นจานวนมาก ห้องสมุดมีพ้นท่ไม่เพียง
ี
ื
ั
ั
ั
ต่อการให้บริการ เน่องด้วยเปิดให้ท้งบุคคลภายในมหาวิทยาลัยและประชาชนท่วไปใช้บริการ อีกท้งช้นวางหนังสือไม่เพียงพอ
ั
ื
ื
เจ้าหน้าท่และนักศึกษาต้องการช้นวางหนังสือเพ่ม ส่วนโต๊ะ เก้าอ้ ควรมีความเหมาะสมตามหลักการยศาสตร์เพ่อความสะดวก
ิ
ี
ั
ี
สบาย ดังนั้นในอนาคตจึงควรมีการศึกษาประเด็นดังกล่าวเพื่อหาแนวทางการปรับปรุงต่อไป
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
179 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.