Page 204 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 204

4.2  ลักษณะทางกายภาพ
                         ขนาดห้องประชุม     44.00 x 20.00 เมตร
                         ความสูงฝ้าเพดาน    7.00 เมตร

                         จ�านวนผู้ใช้       100 ถึง 500 คน
                         วัสดุพื้น          พื้น ค.ส.ล. ปูกระเบื้องแกรนิตโต้สีขาวพื้นที่รวม 800 ตารางเมตร
                         วัสดุผนัง          ผนังก่ออิฐฉาบปูนหนา 10 เซนติเมตร ผิวทาสีขาวพื้นที่รวม 540 ตารางเมตร
                                            ติดผ้าม่าน พื้นที่รวม 120 ตารางเมตร
                         วัสดุฝ้าเพดาน      ฝ้าเพดานยิปซั่มฉาบเรียบทาสีขาว พื้นที่รวม 753.28 ตารางเมตร
                         ระบบปรับอากาศ      ใช้เครื่องปรับอากาศ 24 เครื่อง ขนาด 36,000 Btu
                         จ�านวนหลอดไฟ       ชุดโคมไฟแบบฝังฝ้า 42 วัตต์ จ�านวน 120 หลอด

                         ลักษณะประตูหน้าต่าง  บานกระตูไม้เนื้อแข็งจ�านวน 4 บาน พื้นที่รวม 40 ตารางเมตร หน้าต่างกระจกกรอบ
                                            บานอะลูมิเนียมยาวถึงพื้นอาคารจ�านวน 12 บาน พื้นที่รวม 120 ตารางเมตร
                         ลักษณะเวที         สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 4.00 x 20.00 เมตร พื้นที่รวม 80 ตารางเมตร
                         อุปกรณ์ขยายเสียง   มีเครื่องขยายเสียงจ�านวน 6 ชุด
                                 ี
                              ั
                          ั
                             ุ
                                                                         ี
                         วสดซบเสยง          วัสดุซับเสียงผนังอะคูสติกบอร์ด พ้นท่รวม 74.88 ตารางเมตร วัสดุซับเสียงฝ้าเพดาน
                                                                      ื
                                            อะคูสติกบอร์ด พื้นที่รวม 115.20 ตารางเมตร
                      4.3  ผลการศึกษาเสียงรบกวนพื้นหลังของอาคารหอประชุม
                                 �
                                                                 ื
                                                         ื
                                                                                                    ื
                         จากการสารวจและตรวจวัดเสียงด้วยเคร่องด้วยเคร่องวัดและวิเคราะห์เสียง  พบว่าเสียงรบกวนพ้นหลังของ
                                              ี
              ห้องประชุมสามารถแสดงได้ ดังแผนภูมิท่ 1 และ 2 โดยระดับความเข้มของสียงรบกวนพ้นหลังมีค่ามาตรฐานของห้องประชุม
                                                                                 ื
                                                        ั
                                                    ี
                                                                 ้
                                                            ี
                                                                          ุ
              อยในช่วง 30-40 dBA (Egan,1972) เมอเปรยบเทยบกบค่าท่วัดไดในห้องประชม พบว่าระดบความเข้มเสยงของเสียงรบกวน
                                                                                   ั
                 ู่
                                                                                              ี
                                            ื
                                                ี
                                            ่
              พื้นหลังมีค่ามากกว่าค่ามาตรฐานในทุกย่านความถี่ที่ท�าการวัด
                                                                                    ื
                                                                            ี
                                                         ี
                                                   ื
                         จากค่าความเข้มของเสียงรบกวนพ้นหลังท่ทาการวัดจะพบว่ากรณีท่มีการใช้เคร่องปรับอากาศ ไม่ว่าจะมีการปิด
                                                          �
                                                                                   ี
                                                                                  ี
                                                                                                     ี
                                           ื
                                                   ี
              หรือเปิดม่าน ระดับของเสียงรบกวนพ้นหลังก็ยังม่ค่ามากกว่าค่ามาตรฐานในทุกย่านความถ่ท่ท�าการวัด ดังแผนภูมิท่ 1 และ 2
              แผนภูมิที่ 1  แสดงระดับเสียงพื้นหลังรบกวนภายในห้อง (Background Noise) ของอาคารในกรณีใช้เครื่องปรับอากาศและ
                         ปิดม่าน





              ที่มา: ผู้วิจัย (2560)



                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            197   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209