Page 206 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 206

4.4  การวิเคราะห์ภาระการท�าความเย็นของเครื่องปรับอากาศภายในอาคาร


              ตารางที่ 1 แสดงความร้อนจากแหล่งต่างๆ ที่มีผลต่อการท�าความเย็นของเครื่องปรับอากาศภายในอาคาร

                            ต�าแหน่ง                       พื้นที่          ค่าคงที่         Btu/hr
                1. ความร้อนจากผนังผนังทิศเหนือ   151.2 ตารางเมตร             160    151.2x160 = 24,192 Btu/hr

                  ผนังทิศใต้                     181.2 ตารางเมตร             250    181.2x250 = 45,300 Btu/hr
                  ผนังทิศตะวันออก                96 ตารางเมตร                250    96x250 = 24,000 Btu/hr

                  ผนังทิศตะวันตก                 96 ตารางเมตร                160    96x160 = 15,360 Btu/hr
                2. ความร้อนจากเพดาน              44 x 20 = 880 ตารางเมตร     400    880x400 = 352,000 Btu/hr

                3. ความร้อนจากกระจก
                  พื้นที่กระจกทิศเหนือ           60 ตารางเมตร                360    60x360 = 21,600 Btu/hr
                 พื้นที่กระจกทิศใต้              30 ตารางเมตร                360    30x360 = 10,800 Btu/hr

                4. ความร้อนจากคน
                  จ�านวนคน 500 คน                                            450    450x500 = 225,000 Btu/hr

                5. ความร้อนจากการถ่ายเทอากาศ     44 x 20 = 880 ตารางเมตร     175    880x175 = 154,000 Btu/hr
                6. ความร้อนอื่นๆ                 44 x 20 = 880 ตารางเมตร      37    880x37 = 32,560 Btu/hr

                สรุปกรณีไม่มีผู้ใช้งาน                                              = 679,812 Btu/hr
                สรุปกรณีมีผู้ใช้งาน 500 คน                                          = 904,812 Btu/hr

              ที่มา: ผู้วิจัย (2560)



                         ผลจากจากการส�ารวจห้องประชุมนี้มีการใช้เครื่องปรับอากาศ  จ�านวน  24  เครื่อง  ขนาด  36,000  Btu  (รวม
                                                ี
                                                                                     ื
                                                                     ึ
                                                   �
              864,000 Btu) หากมีการใช้งานห้องประชุมน้ในจานวนความจุ 500 คนข้นไปการลดการใช้เคร่องปรับอากาศจึงเป็นไปได้ยาก
                         �
                                      ื
                                                                              ี
                                                                                                 ื
              ดังน้นการลดจานวนการใช้เคร่องปรับอากาศเพ่อลดความเข้มเสียงท่เกิดจากระบบน้จึงไม่สามารถทาได้  (เคร่องปรับอากาศ
                                                  ื
                  ั
                                                                  ี
                                                                                          �
              ขนาด 1 ตัน ต่อผู้ใช้อาคารประมาณ 30 คน) โดยความร้อนต่อคน ประมาณ 400 Btu/hr(ASHRAE, 2009)
                      4.5  การวิเคราะห์ระดับความเข้มของเสียงขณะมีการประชุม
                                                                                                           ึ
                                                                                                         ิ
                                                    ื
                                                                        �
                                                                                    ึ
                                                                                  ิ
                         การศึกษาระดับการลดลงของเสียงเม่อระยะทางลดลงจากแหล่งกาเนิดเสียงเพ่มข้น ในเชิงทฤษฎี ระยะทางเพ่มข้น
              2 เท่า จากแหล่งก�าเนิดเสียงความดังลดลง 6 dBA (Stein and Reynolds, 2000)
                                                                                                   ื
                                                  ั
                         กรณีใช้เสียงบรรยายธรรมชาติน้น  ผู้ฟังบรรยายด้านหลังสุดจะได้ยินเสียงประมาณ  39  dBA  เม่อผู้บรรยาย
              ใช้เสียงพูดด้วยความดังประมาณ 75 dBA โดยมีค่าเฉลี่ยเสียงรบกวนพื้นหลังที่ 51.38 dBA ผลคือไม่สามารถใช้เสียงปกติ
              ในการบรรยายได้ จุดที่สามารถได้ยินเสียงนั้น อยู่ในระยะเพียง 1-16 เมตร จากเวทีผู้บรรยายเท่านั้น
                         กรณีใช้เคร่องขยายเสียงน้นฟังผู้บรรยายด้านหลังสุดจะได้ยินเสียงประมาณ 65.95 dBA เม่อผู้บรรยายใช้เคร่อง
                                                                                             ื
                                                                                                          ื
                                             ั
                                 ื
              ขยายเสียงด้วยความดังประมาณ  96.7  dBA  มีค่าเฉลี่ยเสียงรบกวนพื้นหลังที่  51.38  dBA  ผลต่างประมาณ  14.37  dBA
              สามารถได้ยินได้ชัดเจน แต่หากผู้ฟังด้านหน้าเวทีหรือใกล้ลาโพงมากเกินไปได้ฟังความเข้มเสียงท่สูงซ่งเป็นอันตรายต่อผู้ฟังได้
                                                                                       ี
                                                          �
                                                                                          ึ
              (หากความดังของเสียงมีค่า 90 dBA เกินกว่า 3 ชั่วโมง 30 นาที จะเป็นอันตรายต่อผู้ฟังได้) (OSHA, 2002)
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            199   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211