Page 209 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 209
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ตารางที่ 2 แสดงความต่างระหว่างเสียงตรงกับเสียงสะท้อนจากวัสดุที่มีผลต่อคุณภาพของการได้ยินเสียง
(Egan, 1972)
Sound Path Difference, m. Listening Conditions
Less Than 8.53 Excellence for Speech and Music (สามารถบรรยายและสื่อสารได้ดีมาก)
8.53-12.19 Good for Speech and Music (สามารถบรรยายและสื่อสารได้ดี)
12.19-15.24 Marginal (สามารถบรรยายและสื่อสารได้ปานกลาง)
15.24-20.72 Negative (มีผลกระทบเชิงลบในการสื่อสาร)
Greater Than 20.72 Echo if Strong Enough (เกิดเสียงเอคโค่อย่างมากอาจมีปัญหาในการสื่อสาร)
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ผลจากการค�านวณจุดพิจารณาแทบทุกจุดนั้นไม่พบปัญหาการเกิดเสียงเอคโค่ นอกจากจุดพิจารณาที่ 1 ระยะ
ความห่างจากผู้บรรยายที่ 4 เมตร ผลต่างระหว่างการเดินทางของเสียงตรงกับเสียงสะท้อนที่วัสดุผนังภายใน มีค่าใกล้เคียง
กับค่า Negative (มีผลกระทบเชิงลบในการสื่อสาร) ดังภาพที่ 7 จึงต้องพิจารณาการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางเสียงในจุด
พิจารณานี้ด้วย
รูปที่ 7 แสดงการสะท้อนเสียงของวัสดุผนังใน จุดพิจารณาต่างๆ
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
การวิเคราะห์ปัญหาและปัจจัยต่างๆ ของเสียงภายใน อาคารหอประชุมอ�าเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี สามารถ
สรุปได้ดังนี้
ี
ื
1. ระดับความเข้มของสียงรบกวนพ้นหลังมีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน โดยจากการตรวจวัดมีค่าเฉล่ยความเข้มของ
เสียงรบกวนพื้นหลังที่ 51.38 dBA
2. ค่ารีเวอร์เบอร์เรชั่นไทม์มีค่ามากกว่าค่ามาตรฐาน โดยจากการตรวจวัดมีค่า 1.43 วินาที เมื่อปิดม่านและ
1.55 วินาทีเมื่อเปิดม่าน
ี
ี
3. การกระจายเสียงภายในห้อง เกิดปัญหาเสียงเอคโค่จากจุดพิจารณาท่ 1 ระยะความห่างจากผู้บรรยายท่ 4 เมตร
โดยมีค่าผลต่างระหว่างการเดินทางของเสียงตรงกับเสียงสะท้อนท่วัสดุผนังภายในใกล้เคียงกับค่า Negative (มีผลกระทบเชิงลบ
ี
ในการสื่อสาร)
Vol. 9 202