Page 210 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 210
จากปัญหาดังกล่าว ได้สรุปแนวทางการแก้ปัญหาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางเสียง ดังนี้
1. การปรับปรุงติดตั้งวัสดุซับเสียงเพิ่มภายในอาคาร
2. การปรับปรุงติดตั้งวัสดุสะท้อนเสียงเพิ่มบริเวณผนังหน้าเวที
3. การปรับปรุงติดตั้งวัสดุสะท้อนเสียงเพิ่มบริเวณเวที
4.8 การปรับปรุงติดตั้งวัสดุซับเสียงเพิ่มภายในอาคาร
การปรับปรุงค่ารีเวอร์เบอร์เรชั่นไทม์นั้นท�าได้โดยการติดวัสดุซับเสียงเพิ่มภายในอาคาร ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกวัสดุ
ซับเสียงที่มีจ�าหน่ายในท้องตลาด มาพิจารณาเพื่อน�ามาเลือกใช้ในการปรับปรุง 6 ชนิด และเลือกวัสดุ 3 ชนิด มาพิจารณา
ในปรับปรุง โดยมีรายละเอียดของวัสดุ ราคาต่อหน่วย และราคาค่าติดตั้งดังตารางที่ 3 ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดของวัสดุ ราคาต่อหน่วย และราคาค่าติดตั้ง
ค่าแรง
ค่าสัมประสิทธิ์ พื้นที่ ราคา/ตร.ม. ราคารวม
วัสดุ (การติดตั้ง
การดูดซับเสียง (ตร.ม.) (บาท) (บาท)
+อุปกรณ์)
แผ่นกลาสวูลส�าเร็จรูป หุ้มด้วยผ้าใยแก้ว 0.98 405.72 579.44 150 295,948.39
หนา 50 มิลลิเมตร
แผ่นกลาสวูลส�าเร็จรูป ปิดผิวด้วยแผ่น 0.75 540.00 513.88 150 358,495.20
กลาสทิชชูหนา 25 มิลลิเมตร
แผ่นกลาสวูล ส�าเร็จรูป ปิดผิวด้วยไวนิล
หนา 19 มิลลิเมตร 0.59 756.00 362.19 150 392,507.64
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ผลจากผลการค�านวณ และการประมาณราคาทั้ง 3 กรณี นั้น พบว่ากรณีที่ 1 การปรับปรุงติดตั้งวัสดุซับเสียง
แผ่นกลาสวูลสาเร็จรูปหุ้มด้วยผ้าใยแก้ว หนา 50 มิลลิเมตรมีค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงก่อสร้างน้อยท่สุด ถึงแม้จะเป็นผลิตภัณฑ์
ี
�
ที่มีราคาเฉลี่ยแพงที่สุด เนื่องจากค่าสัมประสิทธิ์การดูดซับเสียง (NRC) = 0.98 มากที่สุดจึงเป็นผลให้ใช้วัสดุซับเสียงในการ
ปรับปรุงน้อยที่สุด โดยจากการค�านวณแล้วหลังมีการติดตั้งวัสดุจะมีค่ารีเวอร์เบอร์เรชั่นไทม์ลดลงเป็น 1.17 วินาที
ั
ั
4.9 การปรับปรุงติดต้งวัสดุสะท้อนเสียงเพิ่มบริเวณผนังหน้าเวทีและการปรับปรุงติดต้งวัสดุสะท้อนเสียงเพิ่ม
บริเวณเวที
ื
ิ
การเพ่มครีบหรืออุปกรณ์เพ่อช่วยในการสะท้อนเสียงมีเป้าหมายในการกระจายเสียงจากบริเวณด้านหน้า
ี
�
ื
ื
ห้องประชุมไปสู่ด้านหลังห้องในกรณีท่ไม่ใช้เคร่องขยายเสียงและ/หรือใช้เคร่องขยายเสียงท่มีลาโพงเฉพาะบริเวณด้านหน้า
ี
ี
ห้องโดยลักษณะทางกายภาพของครีบหรืออุปกรณ์สะท้อนเสียงน้จะมีพ้นท่สะท้อนเสียงท่มีสัมพันธ์กับค่าความยาวของคล่นเสียง
ี
ื
ี
ื
ที่ต้องการให้สะท้อนดังรูปที่ 8 และ 9 คลื่นเสียงที่ต้องการให้สะท้อนนั้นมีความถี่ 1000 Hz จะมีความยาวคลื่นประมาณ
0.60 เมตร บริเวณพื้นที่ที่ต้องการให้สะท้อนคลื่นเสียงนี้ต้องมีความกว้างอย่างน้อย 4 เท่าของความยาวคลื่น (Egan, 1972;
Stein and Reynolds, 2000) คือ ประมาณ 1.20 เมตร ส่วนมุมของท่สะท้อนเสียงน้นจะใช้การพิจารณาค่าของมุมตามผังอาคาร
ี
ั
กับมุมตกกระทบและมุมสะท้อนของเสียงที่สามารถกระจายไปด้านหลังห้องได้อย่างทั่วถึงดังรูปที่ 10 โดยผลการใช้ที่สะท้อน
เสียงนี้จะท�าให้ลดปัญหาการเกิดเสียงเอคโค่บริเวณด้านหน้าของห้องประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
203 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.