Page 119 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 119
ี
้
่
ุ
็
ู
ี
ั
การศกษาแนวทางการพฒนาพนทสาธารณะขนาดเลกสำหรับชมชนผมรายไดนอย
ึ
ื
ึ
ุ
ุ
ี
ในเขตกรงเทพมหานคร: กรณศกษาชมชนคลองเตย
A Study of the Development of Small Public Spaces for Low-Income
Communities in Bangkok: The Case Study of Khlong Toei Community
1
2
วราพร วงษสวรรณ อาทตย ทพยพชย
ุ
ั
ิ
ิ
ิ
บทคัดยอ
การเพมพนทสีเขยวในชมชนเมองใหไดตามมาตรฐานเปนหนงในแนวทางการยกระดับคณภาพชวตของกรุงเทพมหานคร
ื
ิ
่
่
ุ
้
ี
ี
ิ
ุ
่
ึ
ี
ื
เพื่อสนับสนุนใหมีแนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับความตองการของชุมชนผูมีรายไดนอยใน
เขตกรุงเทพมหานคร การศึกษานี้ไดศึกษาวิเคราะหลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของพื้นที่ในเขตชุมชน
คลองเตยและนำเสนอแนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะขนาดเล็ก โดยไดทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของและ
ิ
ิ
นำเสนอผลลัพธแบบพรรณนาเชงวเคราะห ผลการศึกษาพบวารูปแบบแนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กในชุมชนผูม ี
่
ี
ิ
รายไดนอยจะเปนการเปดโอกาสใหประชาชนและองคกรทหลากหลายจากหนวยงานตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการดำเนนงาน โดย
แตละหนวยงานมีความสามารถที่หลากหลายแตกตางกันไปทั้งดานวิชาการ การจัดหางบประมาณ การมีสวนรวม การออกแบบ
และการสื่อสารมวลชน ซึ่งองคความรูที่แตกตางกันนี้เปนสวนสำคัญในการชวยยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกชุมชนในดานสังคม
ี
เศรษฐกิจ กายภาพและสิ่งแวดลอม จนกลายเปนรูปแบบพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่ตอบสนองตอความตองการของชุมชนผูมรายได
นอยไดอยางแทจรง
ิ
่
้
ื
ี
ี
ุ
คำสำคญ: การยกระดบคณภาพชวต การมีสวนรวมของประชาชน พนทสาธารณะขนาดเล็ก ชมชนผูมรายไดนอย
ุ
ั
ี
ิ
ั
Abstract
Increasing green spaces in urban communities to meet the standards is one of the ways to improve
the quality of life in Bangkok. To support the development of public spaces that are effective and suitable for
the needs of low-income communities in Bangkok, this study analyzes the physical, economic, social, and
cultural characteristics of the Khlong Toei community area and proposes a guideline for participation in the
development of small public spaces. The relevant literature was reviewed and presented the results in
descriptive analysis. The results of the study found that the model for the development of small public spaces
in low-income communities opens up opportunities for people and various organizations from various agencies
to take part in the operation. Each agency has a wide variety of abilities covering academic, budgeting, public
engagement, design, and mass communication. This different formation of knowledge is essential to improving
the quality of life of the community in the social, economic, physical, and environmental aspects. This has
become a form of public space development that can truly respond to the needs of low-income communities.
Keywords: Quality of Life, People Participation, Pocket Park, Low-income Communities
ิ
ั
ั
ู
1 หลกสตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบณฑต สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมองและสภาพแวดลอมคณะสถาปตยกรรมศาสตร
ื
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
2 ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
110