Page 131 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 131
ู
่
รปแบบการจัดกลมพนทใชสอยในงานสถาปตยกรรมทีออกแบบโดยสถาปนิกญปุน
ี
่
ื
ี
่
้
ุ
และทกอสรางในประเทศไทยในชวงยุค ค.ศ.1970-1989:
ี
่
Spatial Organizations Characteristics of Japanese Architectural Design in
Thailand During the 1970s-1989s
1
2
ั
ั
ณัฐพร เชียงสาย พิยะรตน นนทะ
บทคัดยอ
ี
ึ
ู
ิ
ี
ุ
่
่
งานสถาปตยกรรมทีออกแบบโดยสถาปนกญปนและกอสรางอยในประเทศไทยมไมนอยกวา 50 โครงการ ซงกระจายตว
ั
่
ู
ุ
ั
่
ู
ี
่
อยในกรงเทพมหานครและศนยกลางภมิภาคทสำคญตาง ๆ ของประเทศไทย โครงการกอสรางอาคารตาง ๆ ทเกดขนนนไดรบทน
ึ
ั
้
ิ
ี
ั
้
ุ
ู
ความชวยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุนโดยผาน Japan International Cooperation Agency (JICA) สวนใหญเปนอาคารที่เกี่ยวของ
กับการศึกษา ซึ่งสถาปตยกรรมเหลานี้มีความนาสนใจในแงของทั้งการออกแบบระบบอาคาร แนวคิดในการออกแบบ และในแง
ั
สุนทรยมติ แตเปนทนาเสียดายวายงไมไดมีการศกษาเกบขอมลเกยวกบอาคารเหลานไวอยางเปนระบบ บทความนมวตถประสงค
็
ึ
ั
ี
ี
ิ
้
้
ี
ี
ุ
ี
ี
่
ู
่
ั
ุ
ุ
้
ื
ี
ี
่
่
่
ี
ิ
ึ
ั
หลักในศกษาและวิเคราะหลักษณะการจดกลมของพนทใชสอยในงานสถาปตยกรรมทออกแบบโดยสถาปนกญปน และกอสรางใน
ิ
ั
ี
ุ
ิ
บรบทของประเทศไทยระหวางป ค.ศ. 1970-1989 ดวยวธวิจยเชิงคณภาพ โดยการศึกษาแบบพหุกรณี (Multiple-case Design)
ซึ่งอาศัยขอมูลภาคเอกสารของ JICA และแบบพิมพเขียว จากนั้นลงสำรวจภาคสนาม สัมภาษณผูที่เกี่ยวของกับอาคาร และ
ู
่
ี
ึ
ี
ึ
ิ
ั
ื
ู
่
ั
ิ
วเคราะหกรณีศกษาทเปนอาคารเพอการศกษาลกษณะใกลเคยงกน 3 อาคาร ไดแก 1) อาคารศนยปฏบติการวจยและเรือนปลกพช
ั
ื
ิ
ั
ั
ทดลอง มหาวทยาลยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน จงหวัดนครปฐม 2) อาคารเรียนรวมสมเด็จพระเทพฯ สถาบันเทคโนโลยี
ิ
ั
พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และ 3) อาคารศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดปทุมธานี โดยทำการวิเคราะหจากผังพื้นอาคาร เปรียบเทียบสัดสวนของพื้นที่ใชสอย
ี
่
ิ
่
่
ื
่
้
ตาง ๆ แสดงออกมาดวยแผนภูมภาพแสดงความสัมพนธของพืนท (Spatial Diagram) เปนเครืองมอทีใชอธิบายความเชือมตอ และ
ั
ี
่
้
ื
ความลึกของพนท ลำดบความสัมพนธการสัญจร และการเขาถงพนทใชสอยตาง ๆ ของอาคาร ผลการวิเคราะหชใหเหนรปแบบรวม
ั
ู
้
้
ั
ื
็
ึ
ี
ี
่
้
ในการออกแบบอาคารกรณีศึกษาทัง 3 แหง ไดแก ก) ความสมมาตร (Symmetrical) ของรูปแบบผังพื้น (Floor Plan) ข) ระบบ
โมดูลาร (Modular System) ในการออกแบบผังพื้น และรูปดาน ค) ผังบริเวณมีขอบเขตที่ชัดเจน ซึ่งเกิดจากพนที่ทางเดิน
ื
้
(Corridor) การออกแบบใหมีลานเปดโลง (Courtyard) ดานใน และ ง) จากกระบวนการวิเคราะหผังความสัมพันธพื้นที่ใชสอย
้
(Spatial Diagram) พบวาพนทสวนสำนกงานสามารถเขาถงไดงายและเกาะกลุมกนอยในลำดับการเขาถงพนท 1-3 ระดบ สะทอน
ี
่
ื
ึ
่
ึ
ี
ั
ั
ู
ั
้
ื
ความรับผิดชอบตอองคกร และความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และวัฒนธรรมการทำงานแบบรวมแรงรวมใจ (Collective
Oriented) ขององคกรแบบญี่ปุน ซึ่งแตกตางจากระบบการทำงานที่เนนความเปนปจเจก (Individual Oriented) ที่พบเห็นได
ั
่
ั
ทวไปในประเทศตะวนตก และประเทศไทย
คำสำคญ: สถาปตยกรรม ญปน JICA พนทใชสอย ความสัมพนธ
ื
้
่
ุ
ี
ั
ี
ั
่
ั
ู
ิ
1 หลกสตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑต สาขาวิชาสถาปตยกรรมภายใน คณะสถาปตยกรรมศาสตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
ั
2 ภาควิชาสถาปตยกรรมภายใน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบนเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
122