Page 134 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 134
ี
ู
ิ
ุ
ิ
รปท 1 งานสถาปตยกรรมออกแบบโดยสถาปนกญปน และกอสรางในบรบทของประเทศไทย ระหวางป ค.ศ. 1970-1989
่
ี
่
ั
ี
ทมา: ผูวจย (2562)
่
ิ
จากการสืบคนขอมลภาคเอกสารทง 12 โครงการแลว ผูวจยไดทำการลงสำรวจภาคสนามจำนวน 6 โครงการ ไดแก
้
ั
ิ
ั
ู
1. หอสมุดกลางของสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) จังหวัดปทุมธานี กอสรางในป ค.ศ. 1978 ออกแบบโดยบรษท
ิ
ั
สถาปนกและวศวกรรม คเม (Kume Architect-Engineer)
ิ
ิ
ู
2. ศูนยปฏิบัติการวิจัย และเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
ู
ิ
ิ
ั
กอสรางในป ค.ศ. 1979 ออกแบบโดยบริษทสถาปนกและวศวกรรม คเม (Kume Architect-Engineer)
ั
3. ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุน) จงหวัดกรุงเทพมหานคร กอสรางในป ค.ศ. 1980 ออกแบบโดยบริษัท
ิ
สถาปนกและวศวกรรม คเม (Kume Architect-Engineer)
ู
ิ
4. อาคารเรียนรวมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง จังหวด
ั
ู
ิ
กรงเทพมหานคร กอสรางในป ค.ศ. 1984 ออกแบบโดยบรษทสถาปนกและวศวกรรม คเม (Kume Architect-Engineer)
ั
ิ
ุ
ิ
5. อาคารศูนยญี่ปุนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรศูนยรังสิต จังหวัดปทุมธานี กอสรางในป ค.ศ. 1985 ออกแบบ
ั
โดยบริษท Kisho Kurokawa Architect & Associates และบริษท Shimizu Construction Company
ั
ิ
6. ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม จังหวัดปทุมธานี กอสรางในป ค.ศ. 1989 ออกแบบโดยบริษัทสถาปนกและ
ิ
วศวกรรม คเม (Kume Architect-Engineer)
ู
ึ
จากการสำรวจภาคสนามประกอบกับการศกษาผังพื้นของอาคารในโครงการนั้น ๆ ในเบื้องตน พบลักษณะพื้นที่การ
ึ
่
่
ี
้
ั
ื
่
ใชสอยทเหมือนกนบางสวน ไดแก ทางเดินเชอมอาคาร (Corridor) และพืนทเปดโลงภายในโครงการ (Courtyard) ซงองคประกอบ
่
ี
ี
เหลานมความนาสนใจในแงของการออกแบบวางผังอาคาร
้
ี
การจัดกลุมผังพื้น (Spatial Organization) ในงานสถาปตยกรรมนั้นเปรียบไดดังเชนภาพสะทอนความคิดและ
ู
รูปแบบทางสังคมอันเปนนามธรรม ที่ถูกแปรเปลี่ยนใหเกิดเปนกายภาพของการวางตำแหนงปริภมิ (Space) และเสนทางสัญจร
ิ
ั
ึ
(Circulation) ทผคนในสังคมนนใชในการมีปฏสัมพนธซงกนและกน (Hillier & Hanson, 1984; Hillier, 1996) ในทำนองเดียวกน
ั
่
ั
่
ี
ั
้
ู
ั
่
ิ
ิ
ี
ี
ิ
ึ
ี
่
่
ั
ื
การวเคราะหผังพนยงเปนวธทสามารถใชศกษาแนวคิดการออกแบบ โดยเฉพาะอยางยงในดานของอิทธพลทางสังคมทสงผลตอทมา
ิ
้
่
ี
ทางความคด และรูปแบบการมีปฏิสัมพนธทางสังคมของผูออกแบบ หรือพฒนาการในงานออกแบบของสถาปนก (Bafna, 2008)
ั
ิ
ิ
ั
ึ
ั
ั
แมวาการศกษาการจัดกลุมพนทโดยทัวไปทเปนการศกษาดานสถาปตยกรรมหรือดานผงเมอง จะศกษารวมกบปจจย
้
่
ื
ี
ี
่
ึ
ึ
ื
ั
่
ั
ั
ื
่
ื
อน ๆ เชน ปจจยดานความหนาแนน หรือดานการตดสินในเขาใชพนท เพอหาคาสหสัมพนธและนำไปประยุกตใชแกปญหา อยางไร
ั
่
้
ี
ื
่
ก็ตามพบวาการวิเคราะหผังพื้นสามารถนำมาใชในการทำความเขาใจลักษณะทางสังคม ในเชิงมานุษยวิทยาเพื่อเปนเครื่องมือใน
้
ั
่
ี
ั
่
การอานความสัมพนธของพืนทและทางสัญจรในสิงกอสรางทางสถาปตยกรรม หรือเมอง ในมติทเกยวของกบการมีปฏิสัมพนธ เชน
ี
ื
ิ
่
ั
ี
่
ั
้
ั
้
ื
ลำดบชนทางสังคม บทบาทของบคคลในการควบคุมการเขาถงพนท หรอจากรองรอยการจัดกลุมผังพนในการตังถนฐานบานเรอน
ื
ื
้
ุ
่
้
ิ
่
ื
ึ
ี
125