Page 145 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 145

ุ
           6.   สรปและอภิปรายผล
                          ิ
                                                                            ึ
                                                   ้
                                                              
                                                                                    ั
                                                                                                ่
                   จากการวเคราะหผังอาคารของกรณีศึกษาทัง 3 อาคารซึ่งเปนอาคารดานการศกษาและวิจย  เปนอาคารทีออกแบบโดย
           บริษัทสถาปนิกและวิศวกรรมคูเม ในระยะป ค.ศ. 1970-1989 (พ.ศ. 2513-2532) หรือชวงเวลาหางกันเกือบสองทศวรรษ
                                          ้
                                                                                                         
                                          ี
           การวิเคราะหชี้ใหเห็นวาทั้ง 3 โครงการนมีรูปแบบหลักรวมกันคือ 1) การวางผังดวยระบบโมดูลาร (Modular System) แมวา
           ขนาดที่ใชเปนพื้นฐานของโมดูล (Module) อาจจะมีขนาดที่แตกตางกันไป ซึ่งการใชระบบโมดูลารจะชวยลดความซับซอนของ
           โครงสรางอาคาร ชวยประหยัดเวลาของระบบการกอสรางอาคาร นอกจากการใชระบบโมดูลารในการออกแบบผงอาคาร ยงพบวา 
                                                                      
                                                                                                    ั
                                                                                             ั
                 
                                                    
                         
           มีการใชในการออกแบบรูปดาน  สงผลใหเกิดการจัดเรยงที่เปนระบบซ้ำ ๆ กัน ชวยใหรูปดานของอาคารดูมั่นคง และมีความเปน
                                                        
                                                   ี
                     ั
                ั
             
           เปนอนหนงอนเดียวกน
                           ั
                   ึ
                   ่
                                                                                            ่
                                                                                            ี
                                     ี
                                     ่
                   ลักษณะรวมอยางท 2) ทพบคอความสมมาตร (Symmetrical) ของการวางผังและลักษณะรวมอยางท 3) คอ ผังบรเวณ
                                                                                          
                                        ื
                              
                                                                                                ื
                                                                                                      ิ
                                 ี
                                 ่
           มีขอบเขตที่ชัดเจน  ซึ่งเกิดจากพื้นที่ทางเดิน (Corridor) การออกแบบใหมีลานเปดโลง (Courtyard) ดานในแสดงถึงการให
                                                                                                        ั
           ความสำคัญพื้นที่ปดลอมภายใน (Internal Focus) มากกวาภายนอก (External Focus) เปนการออกแบบพื้นที่ที่สอดคลองกบ
                                     ึ
                                ื
                                                 
                                           ื
                                           ่
                                ่
                                                                          ิ
                                                                                  ิ
                                                                                        
                                                                                      
                       
                                                                                                    
                                                                                          
           อาคารสำหรับใชประโยชนเพอการศกษา เนองจากตองการความสงบ และมีสมาธิ ทำเกดประสิทธภาพตอผูใชอาคารเปนอยางด  ี
                   ลักษณะรวมที่ 4) พบวาพื้นที่สวนสำนักงานสามารถของอาคารเหลานี้ เขาถึงไดงายและเกาะกลุมกันอยูในลำดับการ
           เขาถึงพื้นที่ 1-3 ระดับ จากกระบวนการวิเคราะหผังความสัมพันธพื้นที่ใชสอย (Spatial Diagram) ชี้ใหเห็นวาอาคารศูนย 
           ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลองเปนอาคาร 2 ชน มีระดับความลึกของการเขาถึงพื้นที่นอยกวา อาคารเรียนรวมสมเด็จ
                                                     ้
                                                     ั
           พระเทพรัตนราชสุดา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังที่มีขนาดความสูง 5 ชั้น และอาคารศูนยวิจัยและ
                                                                             
           ฝกอบรมดานสิ่งแวดลอมที่มีขนาดความสูง 3 ชั้น แตสิ่งที่เหมือนกันคือ สวนสำนักงานอยูในลำดับพื้นที่ที่สามารถเขาถึง ไดงาย
                                          ี
                                                                                           ึ
                                                                 
           สะทอนความเปดเผย โปรงใส ที่เจาหนาท่บรหาร โดยเฉพาะผูทำหนาที่ใหบริการจะตองเขาถึงและพบไดงายซ่งมีลักษณะแตกตาง
                       
                                            ิ
                                                             
                                                                                           ั
           กับการวางตำแหนงของพื้นที่สำนักงานเจาหนาที่บริหารระดับสูงในประเทศตะวันตกหรือประเทศไทยที่พบทวไป  ที่มักจะใหวาง
                                                                                           ่
                                                                      ิ
                                                                    ู
                                  
                                                                          ั
                                      
           ตำแหนงสำนกงานอยสูงหรือเขาถงไดยากตามลำดับความสำคัญของตำแหนงผบรหารนน
                                    ึ
                                                                    
                                                                  
                           ู
                     ั
                           
                                                                          ้
                 

                                             ้
                                                
                                          ั
           7.   ขอจำกด และแนวทางในการวิจยขนตอไป
                
                                             ั
                     ั
                                    ั
                            ั
                   7.1  ขอจำกดในการวิจย
                       เนื่องจากการวิจัยนี้ดวยการใชกรณีศึกษาแบบพหุกรณี (Multi-Case Design) และเลือกโครงการที่มีลักษณะ
           คลายคลึงกัน (Lateral Replication) เพื่อศึกษาวาอาคารที่ออกแบบโดยบริษัทสถาปนิกและวิศวกรรมคูเม ในระยะ พ.ศ. 2513-
                                                              
                                                                                     ึ
                                                         ้
                                                                                          ้
                                                                                                        ั
                                                                                                     
                                                                        
                 ้
                      ี
                            
                 ั
                                               ู
                               ั
           2532 นนจะมรูปแบบรวมกนหรอไม และหากมี รปแบบเหลานนจะเปนอยางไร อยางไรก็ตามแมการศกษานจะพบรูปแบบรวมกน
                                                         ั
                                                                                          ี
                                   ื
                                                                 
                                                       
                                                      
                                           
                       ึ
                                                                                     ิ
                           ั
                           ้
                                    ิ
                                 
                                                                                                        ิ
                                   
           ในอาคารกรณีศกษาทง 3 แหง ผูวจยกยงไมสามารถสรุปไดวารูปแบบนเปนรูปแบบเฉพาะตัวของแนวคดการออกแบบของสถาปนก
                                        ั
                                                                
                                                               ้
                                                               ี
                                     ั
                                       ็
           ญี่ปุนในภาพรวม ของชวงเวลาดังกลาว และในการศึกษานี้ผูวิจัยมุงเนนการศึกษาผังพื้นและความสัมพันธของการจัดกลุมพื้นท
                                                                                                         ี
                                                                                                         ่
                                                     
              
                                         ิ
             ิ
                                          ิ
                                   ี
                                 ้
                                       ื
                                   ่
                                                   ี
           มไดรวมการศึกษาขนาดของพืนท  หรอมตดานอืน ๆ ทเปนองคประกอบของการออกแบบสถาปตยกรรม
                                              ่
                                                   ่
                                          ั
                                       ั
                   7.2  ขอเสนอแนะในการวิจยครงตอไป
                                            
                                          ้
                       งานสถาปตยกรรมที่ออกแบบโดยสถาปนิกญี่ปุนและกอสรางในประเทศไทยนั้นมีความนาสนใจ   ทั้งในแงของ
                                                                                         ั
                                   
                     ิ
                                                                                    ่
                                                           ั
                                                                                               
                                          ี
                                                                                                       
              ั
           ปรชญาแนวคดการออกแบบ  แงของสุนทรยภาพ  รวมไปถงการจดการระบบเทคโนโลยีทางอาคารเพือรองรบการใชงานในเขตรอน
                                                      ึ
                                                                                                      ่
                                                                              
                               
                                                                                   
                                                                                      
           และการประยุกตเอาความรูดานการออกแบบสถาปตยกรรมในประเทศญีปนซงเปนเขตอบอุนมาใชแกปญหาในประเทศไทยซงเปน
                        
                                                                                                      ึ
                                                                                     
                                                                    ่
                                                                    ึ
                                                                      
                                                                ่
                                                                 
                                                                 ุ
                                 
                                                
           เขตรอน  ในการศึกษาขั้นตอไป  จึงควรมีการศึกษาอาคารอื่น ๆ ที่ออกแบบโดยสถาปนิกญี่ปุนและกอสรางในไทย  ในเรื่องของ
           แนวคิดในการออกแบบอาคารในประเด็นอื่น ๆ เชน การเลือกใชวัสดุ หรือการออกแบบรายละเอียดอาคาร (Detail Design)
                                        ่
                     ั
                                           
             ี
             ่
                                                                        ี
                                                                                                    ี
                                                                                      ั
           ทสอดคลองกบบรบทของประเทศไทยซึงอยในเขตรอน  หรือตอยอดจากการศกษาน  โดยเปรียบเทยบกบอาคารลักษณะเดยวกันท ่ ี
                                                                    ึ
                                                                                   ี
                        ิ
                                           ู
                                                                        ้
                                                        
                                                                                             
                                                             ี
           สรางในประเทศญปน  หรอเปรยบเทียบกบอาคารลักษณะเดียวกนทถกออกแบบโดยสถาปนิกชาวไทย เพอใหเปนกรณีศกษาแบบ
                                                          ั
                                                                                                   ึ
                                  ี
                                                              ู
             
                                                                                        ื
                                          ั
                                                                                        ่
                         ี
                                                             ่
                          
                              ื
                                                                                           
                         ่
                          ุ
           Theoretical Replication






                                                         136
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150