Page 148 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 148
This study is qualitative research by taking the experiences of research participants. It leads to the
benefit for the development of a Way-finding system in the faculty, KMITL. Moreover, the result of the study
of Way-finding for universal design concept, a case study of the Faculty of Architecture, KMITL., found that five
groups of research participants have similar problems in the Way-finding system of the faculty. However,
wheelchair users and people with visual disabilities suggest that the faculty should improve access and use of
facilities for the disabled person rather than develop a Way-finding system. Moreover, the result shows that 6
groups of research participants mention the problem of the signal system except for people with visual
disabilities who solely use other facilities such as Braille blocks, speed bump, and bridge.
Keyword: Way-finding, Signage, Physical Environment, Universal Design
1. บทนำ
ั
ี
ื
เนื่องจากสภาพแวดลอมทางสถาปตยกรรมมความซบซอนมากขึ้น ผูคนจึงจำเปนตองมีแผนที่หรอสัญลักษณเพื่อชวยนำ
้
ี
ิ
ี
ุ
ทางไปยังจดหมายปลายทาง ในสภาพแวดลอมท่มีความเครียดสูงเหลานี ระบบคนหาทางทีมประสิทธภาพจะชวยใหเกดความรูสึก
่
ิ
ั
ปลอดภัย จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา ปจจยผังพื้น (Floor-Plan Configuration) และปจจัยปายสัญลักษณ/เคร่องมือชวย
ื
หาทาง (Signage/Way-finding Aids) จากทฤษฎีของ Weisman (จรัญญา พหลเทพ, 2560, หนา 81) เปนปจจัยดานสภาพ
่
้
้
ั
ี
ี
ึ
ิ
ี
่
ึ
ี
ิ
แวดลอมทางกายภาพทมอทธพลอยางมากในการคนหาเปาหมาย จงเปนปจจยหลักทใชในการศกษาครงน
ั
ื
ปจจุบันคณะสถาปตยกรรมศาสตร สจล. พบปญหาในการเขาถึงอาคารตาง ๆ ซึ่งเกิดจากปายสัญลักษณหรือเครื่องมอ
ี
ิ
ี
ี
่
ิ
ึ
ชวยหาทางทมจำนวนไมเพยงพอ ทำใหผูเขาใชงานเกดความสับสนและไมตอบสนองตอผูใชงาน โดยเฉพาะคนพการ เชน นกศกษา
ั
ี
ี
่
ทใชรถเขนวลแชร นวลนอย บญวงษ และนันทน เนยมทรัพย (2543, หนา 19) กลาววา ลกษณะความพิการทมผลตอการออกแบบ
ั
ี
ี
ุ
ี
็
ี
่
่
อาคารสาธารณะโดยตรงมี 3 ประเภท ไดแก คนพิการประเภทรางกายและการเคลื่อนไหว ความพิการดานการไดยินหรือการสือ
ั
ิ
้
่
ิ
ิ
ิ
ี
ความหมาย และความพิการดานการมองเห็น อกทงผลจากการสำรวจของสำนักงานสถตแหงชาต ป 2539 พบวา เมือรวมคนพการ
ิ
ี
ั
ี
ู
้
ุ
ึ
ทั้ง 3 ประเภทเขาดวยกัน จะมีสัดสวนสงถงรอยละ 73.2 ของคนพิการทังหมด ผูวิจัยจึงมแนวคดท่จะปรบปรงคณะสถาปตยกรรม
ศาสตร สจล. ใหเอื้ออำนวยตอการเขาถึงของคนพิการ 3 ประเภท และจำเปนตองนำแนวคิดการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal
ี
ิ
ั
้
Design) มาเปนแนวทางในการออกแบบระบบคนหาทางในการวจยครังนดวย
้
ั
2. วตถประสงคของการวจย
ุ
ิ
ั
1. เพอศกษาพฤตกรรมและความตองการของผูใชงานระบบคนหาทางภายในคณะสถาปตยกรรมศาสตร สจล.
ึ
ื
่
ิ
2. เพอศกษาแนวทางการออกแบบระบบคนหาทางทีสอดคลองกบหลักการออกแบบเพอทกคน
่
ึ
ุ
่
ื
ื
่
ั
3. เพอเสนอแนะแนวทางการออกแบบระบบคนหาทาง กรณีศกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร สจล.
่
ึ
ื
3. ทฤษฎและวรรณกรรมทเกยวของ
ี
ี
่
่
ี
ี
3.1 สภาพแวดลอมทางกายภาพทมผลกระทบตอการคนหาเปาหมาย
ี
่
จรัญญา พหลเทพ (2560, หนา 81) กลาวถึงทฤษฎีของ Weisman วาปจจัยดานสภาพแวดลอมทางกายภาพที่ม ี
ผลกระทบตอการคนหาเปาหมายมีทงหมด 4 ปจจย ไดแก 1) ผังพน (Floor-Plan Configuration) 2) ระดบการมองเหนเปาหมาย
ั
็
ื
้
้
ั
ั
(Visual Access) 3) ปายสัญลักษณ/เครื่องมือชวยหาทาง (Signage/Way-finding Aids) 4) ความแตกตางกันของที่วาง (Space
Differentiation)
3.2 สภาพแวดลอมทางกายภาพ (Physical Environment)
สิ่งที่มนุษยเรียนรูและจดจำไดจากสภาพแวดลอมกายภาพ มักมีความสัมพันธตอกันเปนระบบ เรียกวา ระบบมโน
ทัศน (Conceptual System) ที่เกิดขึ้นภายในจิตแทนสิ่งที่ปรากฏภายนอก เนื่องจากระบบมโนทัศนในจิตของมนุษยมีความ
่
ึ
ซับซอน จึงกลาวถงแนวทางการศึกษาระบบมโนทัศนเกียวกับสภาพแวดลอมกายภาพ แลววิเคราะหสวนสำคัญของโครงสรางของ
้
ู
ระบบมโนทัศนออกเปน 3 ประการ ดังน 1) จินตภาพ ไดแก สวนที่รับรไดทางจิตจากสภาพแวดลอมกายภาพที่รับรูผานทาง
ี
ทัศนาการ 2) ระยะทางและขอบเขต ไดแก ความสัมพันธของตำแหนงองคประกอบที่เกิดเปนจินตภาพ โดยเนนความสำคัญท ี ่
ระยะทางและขอบเขต 3) ความหมาย ไดแก สวนที่ชวยใหเกิดความเขาใจวาสิ่งที่ปรากฏในจินตภาพนั้นคืออะไร หนาที่ใชสอย
139