Page 150 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 150


                         3.5 ปายสญลักษณ (Signage)
                                        
                                 ั
                                                                                                     ี
                             ปายสัญลักษณ (Signage) เปนสวนหนึงของระบบนำทาง (Way-Finding System) หรือระบบภาพช้ทาง (Graphic
                                                         ่
                                                                     
                                                                                                  ื
                                                                                              ่
                                                                                                          ุ
                                                                                                         ู
                                                                                                         
                                                                    ่
                  Directional System) เพื่อทำใหมวลชนสามารถเดินทางไปสูสถานทีตาง ๆ ตามตองการ ในการจัดทำเครืองมอ เพื่อไปสจดหมาย
                                                     
                  ไดนั้น นักออกแบบกราฟกเพื่อสภาพแวดลอมไดจำกดความหมายไดแคบลง โดยสรางเครองมือเพื่อบอกทิศทาง ระบุสถานที่ และ
                                                                                   ่
                                                                                   ื
                                                        ั
                                                                              
                  บอกคำสั่ง ซึ่งเปนการใหขอมูลอยางมีระเบียบและเปนรูปธรรม และคำนึงถึงการใชงานอยางมีมาตรฐาน เรียกวา ระบบปาย
                  สัญลักษณ (Signage System) ระบบปายสัญลักษณที่ดีจะตองคำนึงถึงสภาพแวดลอม เพื่อทำใหเกิดประสิทธิภาพในการใชงาน
                  (อธวฒน จลมจฉา, 2547, หนา 10)
                                       
                    ิ
                     ั
                          ุ
                        
                            ั
                                                                                                               ื
                             หนาที่หลักของปายสัญลักษณแบงตามประโยชนใชสอยออกเปน 4 ชนิด ดังนี้ 1) บอกทิศทาง (Directional) คอ
                                                                           ่
                  ปายประเภทพื้นฐาน ไดแก ปายแผนที่ไปจนถึงปายชี้ทาง 2) ระบุชื่อ สถานที หรือสิ่งของ (Identifying) คือ ปายบอกชื่อ และ
                                                            ่
                       
                                                                              ั
                                                            ื
                                                         
                                                     ื
                                ่
                                ี
                                                                                           
                                     ิ
                                                                                  ิ
                                                  ่
                                           
                                                  ื
                                     ่
                                                                                         ู
                                                                                       
                                                                                                               ื
                                                                           ่
                                               
                                                                      
                                                                    ึ
                                             
                  ตำแหนงของสถานทหรือสงของ ไดแก ปายชอเมอง ปายชอหอง จนถงปายเครืองดบเพลง 3) ขอมลขาวสาร (Informational) คอ
                                                              
                  ปายเพื่อบอกขอมูลขาวสารถึงการใหรายละเอียด ถือเปนสวนตกแตงของสถานที่ ไดแก ปายบอกขอมูลของนิทรรศการและปาย
                  ประกาศ 4) ควบคุมหรือบงคับ (Restrictive or Prohibitive) คือ ปายเพื่อบอกขอจำกัด ขอหาม ไดแก กฎขอบังคับ ปายหามสูบ
                                     ั
                   ุ
                                                 ุ
                           
                                                       
                                                                
                                                   ิ
                     ่
                         ึ
                                                    ั
                     ี
                  บหร จนถงปายเขตหวงหาม (สมพล กอบสขนรนดร, 2558, หนา 19)
                                              ื
                         3.6 แนวคดการออกแบบเพอทกคน (Universal Design)
                                 ิ
                                                ุ
                                              ่
                                      ี
                                      ่
                              ู
                                               ั
                                
                                                                                                ั
                                                         
                             ศนย IDeA ทมหาวทยาลย Buffalo ไดใชหลักการออกแบบสากล 7 ประการ มาขยายเปนหลกการออกแบบเพือทก
                                          ิ
                                                                                                               ุ
                                                                                                            ่
                                                                                                           ิ
                                  ื
                                  ่
                                       
                                                                                          ั
                                                                                                              ี
                                    ุ
                                                                                                             ี
                                    
                                                
                  คนเปน 8 ประการ เพอมงเนนการมีสวนรวมทางสังคม สุขภาพ และยอมรับบทบาทของบริบททางวฒนธรรมทางสังคมและวถชวต
                      
                                                                                                               ิ
                                                                         ี
                                                                         ้
                  โดยหลักการการออกแบบเพื่อทุกคนประกอบดวยหลัก 8 ประการ ดังน 1) ทุกคนใชไดอยางเทาเทียมกัน (Equitable Use)
                  2)  มความยืดหยุน ปรบเปลียนการใชได (Flexible Use) 3) ใชงานงาย (Simple and Intuitive Use) 4) การสือความหมายเปนท ่ ี
                      ี
                                      ่
                                               
                                                                                                  ่
                                  ั
                                                                                                             
                                                                                   
                  เขาใจงาย (Perceptible Information) 5) การออกแบบที่เผื่อการใชงานที่ผิดพลาดได (Tolerance for Error) 6) ใชแรงนอย
                  (Low Physical Effort) 7) มีขนาดและพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเขาถึงและใชงาน (Size and Space for Approach and Use)
                                                                                               ี
                                                                                               ่
                  8) ความเหมาะสมทางวฒนธรรม (Cultural Appropriateness) (Steinfeld and Maisel, 2012, ยอหนาท 2)
                                   ั
                                                                                             
                                                                                          
                                           
                                        ี
                                        ่
                                      ่
                                      ี
                         3.7 วรรณกรรมทเกยวของ
                             จากการทบทวนวรรณกรรม พบวา วรรณกรรมของไทย เชน หัวขอวิจย “การออกแบบเรขศิลปปายประชาสัมพนธ 
                                                                                                              ั
                                                                               ั
                  เชิงสรางสรรค: กรณีศึกษาโครงการริมน้ำยานนาวา” โดยทนงจิต อิ่มสำอาง และเอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยธุยา (2562) จะใหความ
                                         ่
                            ึ
                  สนใจในการศกษาและคนควาเกียวกับปายสัญลักษณที่เปนสวนหนึ่งของระบบการคนหาทางมากกวาระบบการคนหาทางโดยตรง
                                   
                  และ “แนวทางการออกแบบการจัดผังพื้นสำหรับนิทรรศการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการคนหาเปาหมาย ในพิพิธภัณฑสถาน
                  แหงชาติ” โดย ดร.ชุมพร มูรพันธุ (2556) ที่ศึกษาในเรื่องของการจัดผังพื้นเปนหลัก ซึ่งวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการออกแบบ
                  ระบบการคนหาทางที่สอดคลองกับหลักการออกแบบ เพื่อทุกคนจะถูกพบในวรรณกรรมตางประเทศมากกวาวรรณกรรมไทย
                  เชน หวขอวจย “Gender Differences in Wayfinding Strategies and Anxiety About Wayfinding: A Cross-Cultural
                   
                        
                          ิ
                           ั
                      ั
                  Comparison” โดย Carol A. Lawton and Janos Kallai (2002) และหัวขอวิจัย “Gender and Age Differences in Using
                  Indoor Maps for Wayfinding in Real Environments” โดย Chengshun Wang, Yufen Chen, Shulei Zheng and Hua
                                                     ี
                                                                                               ี
                                                                                               ้
                  Liao (2019) ที่ศึกษาในเรื่องของเพศและอายุที่ม ผลกระทบตอความสามารถในการหาเสนทาง นอกจากนงานวิจย “Wayfinding
                                                                                                    ั
                  in University Settings: A Case Study of the Wayfinding Design Process at Carleton University” โดย Kehinde
                                                         ั
                                                                                                   ี
                                                        ิ
                  Oyelola (2014) เปนวรรณกรรมทีเกยวของกบงานวจยชนนมากทสุด การวจยเปนการวิจยเชงคณภาพและใชวธการรวบรวมขอมล
                                                                  ่
                                                             ี
                                                             ้
                                                                            
                                                                                                               ู
                                                           ิ
                                                           ้
                                                                  ี
                                                                                     ิ
                                                                         ั
                                                                                       ุ
                                           ่
                                             ่
                                                
                                             ี
                                
                                                                        ิ
                                                                                                  ิ
                                                                                                 
                                                                                  ั
                                                   ั
                   ี
                                                                 ิ
                   ่
                  ทแตกตางกน โดยเฉพาะอยางยงการศึกษาจะสำรวจแนวทางในวทยาเขตของมหาวิทยาลัยโดยการตรวจสอบและวิเคราะหมมมอง
                                         ิ
                                                                                                          
                          ั
                                         ่
                                                                                                           ุ
                       
                  ความแตกตางของผูใชงานจริง โดยมีมหาวิทยาลัยคารลตันในออตตาวาเปนสถานที่สำหรับการสำรวจ ซึ่งสถานที่นี่ประกอบดวย
                                                                                      ิ
                                                                                             
                                                                                                         ั
                                                                                                           ี
                                                                                                             
                                                                                                               ึ
                                                                                                           ่
                                    
                                 ั
                                ี
                                        
                                                  ี
                                                  ่
                                         
                                ่
                           ิ
                       
                  โครงสรางเชงพนททซบซอน ผูใชปลายทางทมความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเปาหมายเชงกลยุทธในการเปนสถาบนทเขาถง
                             ้
                               ่
                               ี
                             ื
                                                   ี
                    
                  ไดและครอบคลุม
                             ดังนั้นปจจัยผังพื้นและปจจัยปายสัญลักษณ/เครื่องมือชวยหาทางจากทฤษฎีของ Weisman (จรัญญา พหลเทพ,
                                  
                               ึ
                                                                             ี
                                                                                                 ิ
                  2560, หนา 81) จงเปนปจจยทนาศกษา Kevin Lynch กลาววาสภาพแวดลอมทมการจดระเบยบทด ทำใหเกดจนตภาพไดชดเจน
                                  
                                                            
                                                                            ี
                         
                                                                                                           
                                                               
                                                                            ่
                                                                                                   ิ
                                                                                                            ั
                                                                                 ั
                                        ่
                                                                                          ี
                                      ั
                                          
                                            ึ
                                        ี
                                                                                      ี
                                                                                           ี
                                    
                                                                                          ่
                       ั
                                  
                  งานวจยชนนจงนำองคประกอบหลัก 5 ประเภทของจินตภาพเมืองโดย Kevin Lynch (วิมลสิทธิ หรยางกูร และคณะ, 2556, หนา
                      ิ
                         ้
                         ิ
                            ึ
                                                                                       ์
                                                                                                               
                           ี
                           ้
                  94-96) มาประกอบการวิเคราะหปจจัยผังพื้น และใชหลักการแบงประเภทปายสัญลักษณตามประโยชนใชสอย 4 ชนิด (สมพล
                                                               
                                                           
                                                    ิ
                  กอบสขนรนดร, 2558, หนา 19) ประกอบการวเคราะหปจจยปายสัญลักษณ/เครืองมอชวยหาทาง
                      ุ
                         ั
                                                             ั
                             
                                                                            ่
                                     
                                                                               ื
                                                                                 
                        ิ

                                                               141
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155