Page 20 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 20
สำหรับกระบวนการอนุรักษยานชุมชนเกาที่พิจารณาในการวิจัยนี้ ไดแก การปรับสภาพการใชงานอาคาร
(Rehabilitation) สามารถกระทำไดโดยวิธีการตาง ๆ เพื่อใหอาคารนั้น ๆ ไดมีการบำรุงรักษาและไดใกลชิดกับประชาชน ไดใช
่
ั
ู
ประโยชนกบอาคารแทนทีจะปลอยไวรกรางหลังจากการบรณะปฏิสังขรณแลว (U.S. Department of Interior, 1983)
่
ึ
ิ
อรศริ ปาณนท (2528) กลาวถงการปรับสภาพการใชงานอาคารวาเปนแนวหนงในหลาย ๆ แนวทางของการอนรกษ
ิ
ุ
ึ
ั
และเพื่อประโยชนของสถาปนิกและผูที่สนใจในการอนุรักษไดพิจารณาถึงขอคิดเห็นที่เกี่ยวเนื่องกับงานวิชาการทั้งในดาน
ประวัติศาสตร ศิลปกรรม สถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม และดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง โดยเฉพาะการออกแบบสถาปตยกรรม
รวมสมัย และการพัฒนาพื้นที่รอบบริเวณที่ตองการอนุรักษ ในการดำเนินการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอมของอาคาร ซึ่งม ี
คุณคาทางประวัติศาสตร สิ่งที่ควรพิจารณา ไดแก การพยายามเก็บรักษาสภาพเดิมขององคประกอบทางสถาปตยกรรม และ
ึ
่
ภมิสถาปตยกรรม ซงเนนสภาพแวดลอมพรอมทงปองกนการเสือมสลาย หรือชำรุดไปในเวลาเดียวกนดวย ทงนเพราะองคประกอบ
้
ั
ี
้
ั
้
ั
่
ั
ู
ิ
ื
ตาง ๆ เปนเครื่องมอสำคัญในการบงชี้ถึงบรรยากาศ และคุณลักษณะของสถาปตยกรรมในประวัตศาสตร (U.S. Department of
Interior, 1983)
ชูวิทย สุจฉายา (2552) กลาวถึงความเขมขนของการอนุรักษไว 2 ระดับ ไดแก การอนุรักษแบบเขมขน ที่รักษา
ั
องคประกอบของพื้นที่ไวเปนอยางดี และการพัฒนาเชิงอนุรักษ ที่พิจารณาเห็นวาเมืองนั้นตางจากอาคารตรงที่มีลักษณะพลวต
(Dynamic) มีชีวิต จึงมีการเปลียนแปลงปรับตัวอยูตลอดเวลา ดังนั้นการรักษาองคประกอบที่ทำไดครบถวน เชนเดยวกันกยอมให
ี
็
่
ั
ุ
ั
สวนที่ไมมีความสำคญสามารถสรางทดแทนใหม เพื่อประสิทธิภาพในการใชสอยที่ดีขึ้นแตตองกลมกลืนกัน ก็เปนหลักการอนรกษ
่
ทมความเปนไปไดในทางปฏบติมากกวา
ิ
ี
ี
ั
Manley and Guises (1998) กลาวถงรปแบบของการพฒนาใหมของอาคารในยานอนุรกษ 5 รปแบบดงน้ ี
ั
ึ
ั
ู
ู
ั
ู
1. ใชรปแบบอาคารดังเดิม (Copy original)
้
2. ใชรปแบบอาคารขางเคยง (Copy adjacent)
ี
ู
ั
3. การเคารพองคประกอบของอาคารสำคญ
ั
ิ
4. การใชบรบทของอาคารสำคญ (Contextual)
5. การสรางความขดแยง (Contrast)
ั
ทางเลือกรูปแบบที่เปนที่นิยมคือรูปแบบที่ 3 การเคารพองคประกอบของอาคารสำคัญมีการนำเสนอตั้งแตในชวง
ปลายทศวรรษที่ 70 ในสหรัฐอเมริกา (Sanoff, 1978) หมายถึงการนำเอาองคประกอบที่เดนชัดของอาคารสำคัญ เชน รูปทรง
ี
่
หลังคา ขนาด ชองเปด ควบว และระยะตาง ๆ มากำหนดเปนแนวทางการออกแบบอาคารทจะสรางใหมหรอทจะปรับปรงใหดเปน
่
ี
ุ
ื
ั
ู
้
ิ
กลาง ๆ (Neutral) ไมขดแยงกบสภาพแวดลอม
ั
ั
็
ุ
ิ
ึ
ั
ั
ั
ุ
่
จากการศกษาแนวทางอนรกษยานชมชนเกาไดแนวทางทจะนำมาพจารณาในงานวิจยไดแก การพยายามเกบรกษา
ี
สภาพเดิมขององคประกอบทางสถาปตยกรรม การรักษาองคประกอบที่ทำได และการเคารพองคประกอบของอาคารสำคญ
ั
ุ
ุ
ี
สามารถสรุปไดวาแนวทางอนรกษยานชมชนคอการรักษาองคประกอบทางสถาปตยกรรม ซงอาจไมเพยงพอตอการอนรกษจงตอง
ึ
่
ึ
ื
ุ
ั
ั
ุ
ุ
ั
ั
ี
ระบใหชดเจนถึงรายละเอยดขององคประกอบทางสถาปตยกรรมวาองคประกอบใดบางทควรอนรกษ
ี
่
3.2 องคประกอบทางสถาปตยกรรมทีควรอนุรกษ
่
ั
ั
องคประกอบทางสถาปตยกรรมทีควรอนรกษมการแนะนำไวในหลกการและแนวทางตาง ๆ ดงตอไปน ี ้
ั
ี
่
ุ
ั
3.2.1 Washington Charter (ICOMOS, 1987) ระบุในหลักการและวัตถุประสงคถึงสิ่งที่ควรอนุรกษไววา รูปราง
ั
หนาตาของอาคารทั้งภายในและภายนอกตองถูกกำหนดโดยองคประกอบไดแก มาตราสวน (Scale) ขนาด (Size) การกอสราง
(Construction) วสดุ (Materials) สี (Color) และการตกแตง (Decoration)
ั
3.2.2 Vienna Memorandum (UNESCO, 2005) ระบในแนวทางของการพัฒนาเมืองในขอที่ 26 วาสิ่งที่ตอง
ุ
ิ
สอดคลองกับประวัตศาสตรและสถาปตยกรรม ไดแก สัดสวน (Proportion) และการออกแบบ (Design) และตองใสใจเปนพเศษ
ิ
เพื่อใหแนใจวาการพัฒนาของสถาปตยกรรมรวมสมัยเปนไปเพื่อเสริมคุณคาทางภูมิทัศนของเมืองประวัติศาสตร และอยูภายใต
ื
ั
ี
ิ
่
ี
ขดจำกดเพอประนประนอมตอธรรมชาติทางประวัตศาสตรของเมือง
องคประกอบใน Vienna Memorandum ทั้ง 2 องคประกอบไมตรงกับองคประกอบที่ถูกเสนอใน
Washington Charter
3.2.3 The Valletta Principles for the Safeguarding & Management of Historic Cities, Town and Urban
areas (ICOMOS, 2011) ในขอเสนอและยุทธศาสตรไดกลาวถึงองคประกอบที่ควรคาแกการอนุรักษเพื่อคงไว ซึ่งความแทและ
คุณคาของเมืองประวัติศาสตรที่เปนคุณลักษณะพิเศษทั้งที่จับตองไดและจับตองไมได ประเด็นรูปรางและลักษณะทั้งภายในและ
11