Page 23 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 23

ั
                            ี
                            ่
                   3.3 การเปลยนแปลงทางสังคมและวฒนธรรม
                      วิวัฒน เตมียพันธ (2557) กลาววา ในยุคปจจุบัน กระบวนทัศนทางสังคม มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social
           Change) ทุก ๆ แหงมากขึ้น จะพบวาสังคมไมเคยหยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา บางสังคมการเปลี่ยนแปลง เกิดผล
                                      ้
                                                   
                                               ั
                                            
                  ่
                  ี
                     ั
                               ่
                                                                                                       
                                                                       
                                                                  ่
                                                                                            ่
                                                                          
           กระทบทไดรบจากการเปลียนแปลงนันแตกตางกนไปบางทก ๆ สังคม โดยทัวไปแลวไมอาจหลีกเลียงตอการเปลียนแปลงได แตการ
                                                                                     
                                                                                  ่
                                                      ุ
                                                    ั
                      ่
                                                                                             ่
                                                                                  
                                                                                              ี
                 
                                                                                    ั
                                                    ้
                                           ั
                                        
                                              ุ
                                                               
                                                                    
                                                
                                                                                             ี
                               
           ทจะใหการเปลียนแปลงไมมีผลกระทบตอตวมนษยเองนน เราจะตองเขาใจอยางแมนยำในรากเหงาวฒนธรรม ทมฐานปญญาและ
             ี
             ่
                           ั
                        
           ฐานคณความดีปองกนภย
                ุ
                             ั
                                                                                 
                           
                                                                                          ่
                                                                                          ี
                         ิ
                                                                                        ิ
                                                       ่
                                                                                     
                                                               ่
                                                                                        ่
                                                   ึ
                                             
                                          
                                                                                                       
                      โกวทย พวงงาม (2553) กลาววา การศกษาเรืองการเปลียนแปลงของชุมชน จำเปนอยางยงทจะตองทำความเขาใจ
                                                                                    ี
                                                                                               
           ในความหมายของการเปลียนแปลง และการเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม เนองจากการเปลยนแปลงบางอยางทเกดขนใน
                                                                         ื
                                              ่
                                                                                                  ่
                                                                                    ่
                                                                                                  ี
                              ่
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                                                                         ่
                                                                                                    ิ
                                                                              
           ชุมชนทองถิ่นนั้น ไมเปนการเปลียนแปลงทางสังคมเสมอไป ในทางสังคมวิทยาถือวามนุษยเปนสัตวสังคม ซึ่งตองอยูอาศัยรวมกน
                                   ่
                                                                                                     
                                                                                                        ั
                                                                 ั
                                    ่
                                      ั
                                                                                 ี
                                                                                 ่
                                   
             ั
                                                                    
                                    ึ
                                                                   
               ู
                ่
                ื
                                                   ่
           กบผอน และมีการปะทะสังสรรคซงกนและกน การเปลียนแปลงความสัมพนธตอกนของคน คอทมาของการเปลียนแปลงทางสังคม
                                            ั
                                                                       ั
               
                                                                                            ่
                                                                               ื
           และวัฒนธรรม
                      อนุวิทย เจริญศุภกุล (2528) กลาววา ไมควรพิจารณางานสถาปตยกรรมในแงรูปกายภาพที่เปนผลผลิตสุดทายแต 
                                                                                                        ื
           เพียงอยางเดียว แตจะตองศึกษาถึงกระบวนการกอรูปตั้งแตตนลงมาจนถึงรูปแบบสุดทายที่ปรากฏขึ้น หรือกลาวโดยสรุปก็คอ
                                                            ั
                              
                  ิ
           จะตองพจารณางานสถาปตยกรรมในลักษณะของกระบวนการทางวฒนธรรมนันเอง
                                                                    ่
                                     ่
                             
                      เห็นไดวา การเปลียนแปลงขององคประกอบทางสถาปตยกรรมมีปจจัยเกี่ยวเนื่องกับสภาพเศรษฐกิจ และ
                                                                              
                                                
                 ่
           การเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม อีกทั้งปจจัยจากแรงกดดันจากการพัฒนา สงผลตอการอนุรกษมรดกทางสถาปตยกรรม
                                                                                     ั
           ในยานชุมชนเกา นำไปสูการเปลี่ยนแปลงขององคประกอบทางสถาปตยกรรม อันเนื่องมาจากความตองการของเจาของอาคาร
                                                           ึ
                                                             ี
                                                           ้
           และผูใชประโยชนอาคาร ซ่งการพจารณาการเปลียนแปลงทีเกดขนน จะตองพจารณาถึงการเปลียนแปลงทางสังคมและวฒนธรรม
                                                       ่
                                                                                                   ั
                                                         ิ
                                                                                 ่
                                                             ้
                 
                                                                    ิ
                                               ่
                               ึ
                                    ิ
                
           ดวย การศกษาขอมลของยานชมชนเกา จงเปนสิงสำคญตอการอนรกษทมประสิทธภาพ
                                            
                       
                                                                ี
                                              ่
                                                                ่
                                                  ั
                          ู
                                                                 ี
                                                              
                                                           ุ
                                       
                                                            ั
             
                                  ุ
                                         ึ
                   ึ
                                                                       ิ
                                     
                            
                   3.4 ขอมูลยานสามแพรง
                                                                                                        ั
                                                                                       ั
                      การศึกษายานชุมชนเกาและอาคารในยาน เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายในการอนุรกษที่มีผลบังคับใชจริงกบ
           อาคารในยานชมชนเกา โดยเลือกกรณีศกษายานสามแพรง
                           
                      ุ
                                             
                   
                                        ึ
                                                    
                                 ิ
                                                                                                       ้
                      3.4.1  ประวัตศาสตรยาน ยานสามแพรง ไดแก บริเวณแพรงภธร แพรงนรา และแพรงสรรพศาสตร ตั้งอยูในพืนท ี ่
                                                                    ู
                                       
                                                                                                   ิ
           กรุงรัตนโกสินทรศูนยกลางประวัตศาสตรของกรุงเทพมหานคร ซึ่งลอมรอบดวยวงแหวนสามชั้น อันไดแก คลองคูเมืองเดม คลอง
                        
                                    ิ
                                                         
                                        ้
                              ุ
                                                         ู
                                                            
                                                                                         
                                                                     ้
                                          ี
                                                      ั
                 ุ
                                           
                                                      ้
                                                                                 ั
           รอบกรง และคลองผดุงกรงเกษม โดยพืนทยานสามแพรงตงอยในสวนวงแหวนชันกลางของกรุงรตนโกสินทร
                                          ่
                            พื้นที่กรุงรัตนโกสินทรมีความสำคัญเปนจุดเริ่มตนของการกำเนิดพระนคร ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ
                                                                                                        ็
                                                                                              ั
           พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ในป พ.ศ. 2325 เปนศูนยกลางของความเจรญ เปนที่ต้งของพระบรมมหาราชวงและหนวยงาน
                                                                             ั
                                                       
                       
                                                                     ิ
                                                                 ั
                                                                    
                                                               ้
                                                                                 ี
                                     ิ
                                                                                 ่
                                                                         
                                                                       ้
                                                                                  ั
                                                                                     ั
                             ึ
                   ู
                                                                       ั
                                                 ิ
                     
                                                    ั
                                                                                       
                                                                      ่
                                              
                                                                               
           ราชการ ศนยกลางการศกษาและกจกรรมทางดานศลปวฒนธรรม  อีกทังยงเปนทีตงยานการคาทสมพนธกับเสนทางการสัญจรและ
           การเตบโตของเมือง
                ิ
                                                                                  
                                                                                               ้
                                         
                                                                                                      
                            ยานสามแพรง ไดรับคำเรียกขานชอยานมาจากการเปนทางบกทางเดียวทผานจากพระนครชนในออกสูพระ
                             
                                                                                 ี
                                                    ื
                                                    ่
                                                       
                                                                                 ่
                                                                                               ั
                                                                           ิ
                                                                                  ่
                          
                                ุ
                                                                                              ุ
           นครชนนอกในชวงตนของกรงรตนโกสินทร และมีประวัตศาสตรอนยาวนานทสงผลใหเกดการเปลียนแปลงไปตามยคสมยดังตอไปน
                                                                                                         ้
                                                                                                 ั
                                                                                                         ี
                                          
                                  ั
                                                    ิ
                                                                   ี
                                                                   ่
                ้
                                                                         
                ั
                                                                                                     
                       
                                                           ั
                            ประวัติศาสตรยานสามแพรง สมัยรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาลที่ 1-3) พื้นที่ยานสามแพรงไดเปลี่ยน
                                     ั
                                    ่
                  ่
                                                                             ื
           จากพื้นทีเรือกสวนไรนา มาเปนทีต้งของวงกลมชางโรงสี กลุมวังพระราชโอรสรมคลองคูเมองเดม ตอมาพื้นทียานก็เรมพัฒนาเปน
                                             ุ
                                                       
                                                                                           ่
                                                                     ิ
                                                                                            
                                                                                                ิ
                                                                                                ่
                                          ั
                                                                                 ิ
           ยานอยูอาศัย สมัยรัตนโกสินทรตอนกลาง (รัชกาล 4-6) เกิดการเปลี่ยนแปลงมาก โดยยานไดเปนที่ตั้งของวังพระราชโอรสใน
                                                                                                 ์
                                                                                                 ิ
                                                                                                     ั
                                                  
                                                
                                                    
                                                                 ิ
                                                      ั
                                   
           พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหว 3 พระองคไดแก วงกรมพระนราธปประพนธพงศ วงกรมหมนภูธเรศธำรงศักด และวงกรม
                                      ู
                                       ั
                                      
                                                                         
                                                                            
                                                                             ั
                                                                                    ่
                                                                                    ื
                                                                      ั
           หลวงสรรพศาสตรศุภกิจ ทำใหยานเปนที่อยูอาศัยของชุมชนขาราชการ และมีการตัดถนนทั้งสามแพรง สมัยรัตนโกสินทรรัชกาล
                         
           ที่ 7-ปจจุบัน ตั้งแตปพ.ศ. 2524 เปนตนมา การลดบทบาทความสำคัญของยานสามแพรงในการเปนยานการคาไดเกดขึ้นอยาง
                                                                                                  ิ
           ตอเนื่องมาโดยตลอด ทั้งจากการยายศูนยกลางเศรษฐกิจของเมือง การทยอยยายออกของหนวยงานราชการบางสวนออกไป
                              
                      ั
                ื
                ้
           จากพนทกรงรตนโกสินทร (วมลรตน อสระธรรมนูญ, 2543)
                    ุ
                  ่
                  ี
                                      
                                       ิ
                                ิ
                                   ั
                                                              
                                                                                                        ิ
                                                                        ั
                                                     ุ
                                                                          
                                                                ี
                      3.4.2  ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ ชมชนสามแพรงมความสัมพนธกบสำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตรย 
                                                                                        
                                                                           ั
           มาอยางยาวนาน โดยความสัมพันธนั้นเปนความสัมพันธระหวางเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินและอาคารในชุมชนและผูเชา ในปจจุบน
                                                                                                        ั
           สำนักงานทรัพยสินฯไดมีการปรับขึ้นคาเชาและลดระยะเวลาการเชา ตลอดจนพัฒนาชุมชนสามแพรงใน  3 ดาน ไดแก ดาน
           อสังหาริมทรัพยโดยการทาสีและปรับปรุงอาคารภายนอก โดยในป พ.ศ. 2556 สำนักงานทรัพยสินฯ ไดดำเนินการทาสีและ
                                                                                               ั
           ปรับปรุงอาคารภายนอก ดานสังคมโดยการใหทุนการศึกษาแกเยาวชนในชุมชน ใหการสนับสนุนกิจกรรมในวันสำคญตาง ๆ และ
                                                         14
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28