Page 21 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 21
ภายนอกของสิ่งปลูกสราง ไดแก โครงสรางอาคาร (Structure) ปริมาตร (Volume) รูปแบบ (Style) มาตราสวน (Scale) วัสด ุ
(Materials) สี (Color) และการตกแตง (Decoration)
องคประกอบใน The Valletta Principle ตรงกับองคประกอบที่ถูกเสนอไปแลวขางตน 3 องคประกอบ
ู
ั
ี
ไดแก มาตราสวน (Scale) วัสดุ (Materials) สี (Color) และการตกแตง (decoration) และอีก 3 องคประกอบท่ยงไมไดถกเสนอ
ไดแก โครงสรางอาคาร (Structure) ปรมาตร (Volume) และรูปแบบ (Style)
ิ
3.2.4 United States Department of the Interior (U.S. Department of the Interior, 1983) กลาวถึงการ
่
ิ
ซอมแซมคุณลักษณะทางประวัติศาสตรในสถาปตยกรรม ซึ่งคุณลักษณะใหมที่ถูกตองกลมกลืนกับของเกา รวมไปถึงการเพม
ของใหมในการกอสรางใหมตองไมทำลายเอกลักษณเดม องคประกอบดังกลาวไดแก การออกแบบ (Design) สี (Color) ผิวสัมผัส
ิ
(Texture) วัสดุ (Materials) รูปทรง (Mass) ขนาด (Size) มาตราสวน (Scale) และลักษณะเฉพาะทางสถาปตยกรรม
(Architectural Features)
องคประกอบใน United States Department of the Interior ตรงกับองคประกอบที่ถูกเสนอไปแลว
ี
ขางตน 5 องคประกอบ ไดแก การออกแบบ (Design) สี (Color) วสดุ (Materials) ขนาด (Size) และมาตราสวน (Scale) และอก
ั
ั
ั
3 องคประกอบทยงไมไดถกเสนอ ไดแก ผิวสมผัส (Texture) รปทรง (Mass) และลักษณะเฉพาะทางสถาปตยกรรม (Architecture
ี
ู
ู
่
Features)
3.2.5 ยงธนิศร พิมลเสถียร (2557) ไดสรุปองคประกอบจากเอกสารขององคกรยเนสโกและอิโคโมสเกี่ยวกับแนว
ู
ทางการบริหารจัดการแหลงมรดกโลกดานวัฒนธรรม ไดแก รูปทรง (Mass) มาตราสวน (Scale) สัดสวน (Proportion) จังหวะ
(Rhythm) ภาพเงาทึบกลุมอาคาร (Silhouette) แนวเสนอาคารและเสนถนน (Building line and Street line) ระยะรน
(Setback) ลักษณะชองเปด หนาตาง ประตู (Opening windows and doors) ความสูง (Height) วัสดุ (Material) ผิวสัมผัส
(Texture) สี (Color) รายละเอยด (Details) และคุณภาพของการซอมแซม (Quality)
ี
องคประกอบในยงธนิศร พิมลเสถียร (2557) ตรงกับองคประกอบทีถูกเสนอไปแลวขางตน 6 องคประกอบ
่
ี
ไดแก รูปทรง (Mass) มาตราสวน (Scale) สัดสวน (Proportion) วัสดุ (Material) ผิวสัมผัส (Texture) และสี (Color) และอก
8 องคประกอบที่ยังไมไดถูกเสนอ ไดแก จังหวะ (Rhythm) ภาพเงาทึบกลุมอาคาร (Silhouette) แนวเสนอาคารและเสนถนน
(Building line and street line) ระยะรน (Setback) ลักษณะชองเปด หนาตาง ประตู (Opening windows and doors)
ความสูง (Height) รายละเอยด (Details) และคุณภาพของการซอมแซม (Quality)
ี
ิ
3.2.6 กฎบัตรประเทศไทยวาดวยการบรหารจัดการแหลงมรดกวัฒนธรรม (สมาคมอิโคโมสไทย, 2554)
ในหมวดที่ 4 การบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม หัวขอหลักการอนุรักษที่เกี่ยวของกับกายภาพของสถาปตยกรรม ขอ 8 การ
ดำเนินการอนุรกษมรดกสิ่งกอสรางพื้นถิ่น ใหคำนึงถึงการพัฒนาหรอความเปลี่ยนแปลงที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได และลักษณะเฉพาะ
ื
ั
ิ
้
่
ุ
่
ี
่
้
่
ื
ุ
ั
ทางวฒนธรรมทีสบทอดมาของชมชน โดยงานทตอเตมบนสิงกอสรางหรือในบริเวณชุมชนพืนถินนนควรเคารพคณคาทางวฒนธรรม
ั
ั
และลักษณะตามแบบดั้งเดิม ที่ผสานกลมกลืนกับสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ แนวทางในการปฏิบัติ ไดแก
ั
ื
การวิจัย บันทึกจัดเก็บขอมล สงเสรมใหมการสืบสานระบบการกอสรางและทักษะฝมอชางพืนถิ่นในทุกระดบ อาจใชวสดใหมที่ไม
ุ
้
ิ
ี
ู
ั
เปลี่ยนแปลงการแสดงออกของภาพลักษณ (Appearance) ผิวสัมผัส (Texture) และรูปทรง (Mass) ไปจากโครงสรางและวัสด ุ
ื
่
ของเดิมทสบเนองมา
ื
ี
่
องคประกอบในกฎบัตรประเทศไทยฯ ตรงกับองคประกอบที่ถูกเสนอไปแลวขางตน 2 องคประกอบ ไดแก
ี
ั
ู
่
ั
ผิวสมผัส (Texture) และรูปทรง (Mass) และอีก 1 องคประกอบทยงไมไดถกเสนอ ไดแก ภาพลักษณ (Appearance)
3.2.7 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2563) กำหนดแนวทางในการในการ
อนุรักษและฟนฟูยานชุมชนเกาไว 3 แนวทาง ไดแก การรักษาองคประกอบที่สำคัญ การวางแผนเพื่อประโยชนใชสอยใหม และ
ั
ุ
ั
ุ
การควบคมการออกแบบสถาปตยกรรมรวมสมย โดยการรักษาองคประกอบทสำคญ ระบไววารูปทรงและลักษณะทางกายภาพทัง ้
่
ี
ภายในและภายนอกอาคาร ซึ่งถูกกำหนดโดย โครงสรางอาคาร (Structure) ปริมาตร (Volume) รูปแบบ (Style) สัดสวน
(Proportion) วสดุ (Materials) สี (Color) และการตกแตง (Decoration)
ั
ั
้
ั
องคประกอบในสำนกงานนโยบายและแผนทรพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอม ทงหมดตรงกับองคประกอบ
่
ั
ู
ี
ี
่
่
่
ู
ี
ึ
ทถกเสนอไปแลวขางตน จากการศกษาองคประกอบทางสถาปตยกรรมจากเอกสารทเกยวของและวิเคราะหองคประกอบทถกเสนอ
่
ี
่
ซำและไมซำกนทำใหสรปรายละเอยดองคประกอบทางสถาปตยกรรมไดดังตารางท 1
ี
ี
ุ
ั
้
้
12