Page 64 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 64
ั
ั
้
ื
ิ
การพฒนาพนทภมิทศนวฒนธรรมนาเกลือสมุทรดวยเศรษฐกจสรางสรรค
่
ี
ั
ู
ึ
ี
ุ
กรณศกษา นาเกลือสมุทร อำเภอบานแหลม จังหวดเพชรบร ี
ั
Development of Cultural Landscapes of Sea Salt Farms by Creative Economy
A Case Study of Sea Salt Farms in Ban Laem, Phetchaburi
2
1
ื
ั
มณฑณา ชนชมภู ปรณ ขวญสุวรรณ
่
ั
ู
บทคัดยอ
ิ
พื้นที่ภูมิทัศนวัฒนธรรมนาเกลือสมุทรเปนสมบัติทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางมนุษยและธรรมชาต
ึ
มีการใชประโยชนจากพื้นที่เพื่อตอบสนองตอความตองการ ภายใตอิทธิพลของสภาพแวดลอมภูมิศาสตร ซึ่งแสดงใหเห็นถง
ภูมิปญญา วัฒนธรรม และการปรับตวของมนุษย ซึ่งมีวิวัฒนาการมาอยางตอเนือง แตปจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
่
ั
ั
ุ
ี
ี
ิ
ิ
ประเทศไทย ไดสงผลใหวถชวตของผูคนเปลียนไป เนองจากวถชวตแบบเดมนนไมสามารถตอบสนองความตองการในปจจบนได จง ึ
่
่
ี
ี
ื
ิ
ิ
ั
้
ิ
ี
ั
เกดการเปลียนแปลงการใชทดนในพนทภมิทศนวฒนธรรมนาเกลือ ทำใหพนทนาเกลือมแนวโนมลดลงอยางตอเนอง และภูมิปญญา
ั
ี
ื
ู
่
ี
ิ
้
่
ิ
้
ี
ื
่
ื
่
่
ที่มีคุณคาก็จะเริ่มสูญหายไป จึงตองหาแนวทางใหการอนุรักษและพัฒนาสามารถกระทำควบคูกันไปได โดยใหการพัฒนาอยูบน
ื
่
พื้นฐานของความรูและวัฒนธรรมของพื้นที่ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค ดังนั้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงคเพอ
ศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่ภูมิทัศนวัฒนธรรมนาเกลือ โดยอยูบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค โดยไดทำการวิเคราะห
ั
ั
ู
ุ
ุ
ิ
ุ
่
ี
ื
้
ความสัมพนธขององคประกอบในพนทภมิวฒนธรรมนาเกลือสมทร กบแนวคดเศรษฐกิจสรางสรรค 4 กลมใหญ 15 กลมยอย พบวา
ั
องคประกอบในพื้นที่ภูมิทัศนวัฒนธรรมนาเกลือ มีความสัมพันธกับแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ื
เปนสวนใหญ ซึ่งถือเปนขอดี เนื่องจาก มูลคาทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมสรางสรรคของไทยที่มีสัดสวนมูลคาสูงที่สุด คอดานการ
ี
ั
่
ทองเทยวเชงวฒนธรรม หลังจากนนจงใชกลยุทธ 4P (People Product Place และ Preserve) ในการอธบายแนวทางการพฒนา
ั
ึ
ิ
ั
้
ิ
ู
ิ
ั
ิ
ั
พนทภมทศนวฒนธรรมนาเกลือสมทร ซงเปนการพฒนาดวยแนวคดเศรษฐกจสรางสรรคในระดบชมชน
ุ
ื
่
ิ
้
ี
ั
ุ
ั
่
ึ
ุ
ู
ั
คำสำคญ: เศรษฐกจสรางสรรค การพฒนา ภมิทศนวฒนธรรม นาเกลือสมทร
ิ
ั
ั
ั
Abstract
The cultural landscape of sea salt farm is the cultural properties that represent the combined works of nature
and of man. There is the use of land to meet the needs of people under the influence of the environment that represents
the culture and human adaptation. In the present, the economic and social development of Thailand affects lifestyle
because the traditional lifestyle isn’t suitable for today’s needs. Affect to the land-use changes in the area and the valuable
culture started to disappear. It is necessary to find a way that can balance both conservation and development base on
knowledge and cultures. That relates to the creative economy concept. So, the purpose of this research is to study the
development of cultural landscapes of sea salt farms base on the creative economy is based. By doing relationship analysis
between elements of the cultural landscape of sea salt farm and creative economy (4 large groups and 15 sub-groups). The
result showed that elements of the cultural landscape of sea salt farm related to the creative economy. Mostly in cultural
tourism. This is good result because cultural tourism is the highest of Thai creative industries value. After got the relationship
result, use the 4P strategy (People, Product, Place and Preserve) in explaining guidelines for development of cultural
landscape of sea salt farm.
Keywords: Creative Economy, Development, Cultural Landscape, Sea Salt Farm
ิ
ั
ู
1 หลกสตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบณฑต สาขาวิชาสถาปตยกรรมเขตรอน ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร
ั
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
2 ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
55